Publication: การประเมินการจัดการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารรามคำแหง ฉบับมนุษยศาสตร์
Ramkhamhaeng University Journal Humanities Edition
Ramkhamhaeng University Journal Humanities Edition
Volume
32
Issue
2
Edition
Start Page
145
End Page
160
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การประเมินการจัดการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นของมหาวิทยาลัยรามคำแหง
Alternative Title(s)
The Evaluation of Classroom Management of the Japanese Language at Ramkhamhaeng University
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินการจัดการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น สาขาภาษาญี่ปุ่น ภาควิชาภาษาไทยและภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหงและเพื่อหาปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ อาจารย์ภาษาญี่ปุ่น นักศึกษาวิชาโทภาษาญี่ปุ่น บัณฑิตที่จบวิชาโทภาษาญี่ปุ่นและผู้ใช้บัณฑิต รวมทั้งสิ้น 118 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม จำนวน 4 ฉบับ สถิติที่ใช้ ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที (t – test) ผลการวิจัยพบว่า 1) การประเมินการเรียนการสอนภาษาญี่ปุ่นทั้งหมด 13 ด้าน ได้รับการประเมินในระดับดี 10 ด้าน ค่าเฉลี่ย 3.69-4.46 ประกอบด้วย ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล สำหรับปัจจัยที่เอื้อต่อ การเรียนการสอน ได้แก่ ด้านอาจารย์ผู้สอน ด้านนักศึกษา ด้านอุปกรณ์ในห้องเรียน ด้านสถานที่เรียน และความสามารถด้านภาษาญี่ปุ่นของบัณฑิตได้แก่ ด้านทักษะการฟัง การพูด และการอ่าน ส่วนการประเมินในระดับปานกลาง 3 ด้าน ค่าเฉลี่ย 3.24-3.44 คือ ด้านอุปกรณ์เสริมให้นักศึกษาเรียนรู้ ด้วยตนเอง ความสามารถด้านภาษาญี่ปุ่นของบัณฑิต ได้แก่ ด้านทักษะการเขียนและทักษะการแปล 2) นักศึกษาให้ความสำคัญกับปัจจัยที่มีผลต่อการพัฒนาการเรียนการสอนมากกว่าอาจารย์ และ 3) การพัฒนาการเรียนการสอน ให้เพิ่มกิจกรรมทั้งในและนอกห้องเรียน เพิ่มสื่อการสอนให้ทันสมัย เพิ่มวิชาเสริมทักษะในการทำงานและควรสอนวัฒนธรรมและมารยาทของญี่ปุ่น ให้มีการดูงานและฝึกงาน ควรเพิ่มห้องปฏิบัติการทางภาษา เพิ่มหนังสือในห้องสมุดและเพิ่มอาจารย์ทั้งชาวไทยและชาวญี่ปุ่น