Publication: การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
11
Issue
2
Edition
Start Page
16
End Page
29
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการดำเนินงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยของรัฐในประเทศไทยโดยใช้วิธีการวิจัยเชิงสำรวจ ประชากรที่ใช้ในการวิจัย คือ ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานที่รับผิดชอบงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยของรัฐ จานวน 16 แห่ง รวม 32 ชุด เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิจัย คือ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ T-test ผลการวิจัยพบว่า ผู้บริหารหอจดหมายเหตุส่วนใหญ่มอบหมายให้บุคคลใดบุคคลหนึ่งรับผิดชอบ ส่งบุคลากรเข้ารับการอบรม/สัมมนา/ดูงานด้านการประชาสัมพันธ์เป็นครั้งคราว ตามแต่จะมีการจัดกิจกรรมทางการประชาสัมพันธ์ ไม่มีงบประมาณโดยเฉพาะ ไม่มีการกำหนดนโยบายการประชาสัมพันธ์ที่เป็นลายลักษณ์อักษร บุคลากรของหอจดหมายเหตุทุกคนมีส่วนร่วมหรือรับรู้ในการกำหนดนโยบาย/วางแผนการประชาสัมพันธ์ มีการประเมินผลการดำเนินงานเผยแพร่และประชาสัมพันธ์โดยการประเมินจากสถิติผู้เข้าใช้และมีการร่วมมือกับห้องสมุดมหาวิทยาลัย ผู้บริหารเห็นว่า รูปแบบที่ควรใช้ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ได้แก่ การจัดนิทรรศการออนไลน์ และการใช้สื่อบุคคลซึ่งเป็นเจ้าหน้าที่หรือผู้ปฏิบัติงานในหอจดหมายเหตุสำหรับผู้ปฏิบัติงานหอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยใช้รูปแบบในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุ คือ การนำชมโดยบุคลากรของหน่วยงานจดหมายเหตุ ส่วนด้านสื่อ พบว่า มีการใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ในรูปแบบของเว็บไซต์ของหอจดหมายเหตุ และรูปแบบที่ควรใช้ คือ การจัดแสดงนิทรรศการถาวรภายในอาคารหอจดหมายเหตุ สื่อที่ควรใช้ คือ สื่อบุคคลที่เป็นนักจดหมายเหตุ เมื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบที่ควรใช้ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยระหว่างผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงาน พบว่า ผู้บริหารและผู้ปฏิบัติงานมีความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบที่ควรใช้ในการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์หอจดหมายเหตุมหาวิทยาลัยไม่แตกต่างกัน