ละครประยุกต์และการบูรณาการข้ามศาสตร์
Permanent URI for this collection
Browse
Recent Submissions
วิจัยการแสดง : สร้างความรู้ใหม่ด้วยการทำละคร
ศาสตร์การละคร -- การวิจัยทางศิลปะ: การพัฒนาและยืนยันคุณค่าศาสตร์การแสดงในศตวรรษที่ 21 -- พัฒนาการละครไทยร่วมสมัยด้วยงานวิจัย -- การเขียน เครื่องมือสื่อสารสำคัญในงานวิจัย
Engagement and Empowering the Students in Wat Makleu Community in Preserving the Narapirom’s Canal through a Shadow Puppet Performance: Hun Ngao Lao Reung Klong Nara
This applied theatre project uses drama process and community-based learning in order to engage the students at Makleu Temple School to recognize the value and importance of the Narapirom canal and the life-style along the canal as in the old days. This project incorporates theatre gaming, drama process and puppetry to pass on community life-style and values to young generations nowadays. The students participated in this project practiced in artistic process, which were: theatre gaming and creative drama. This process enhanced the simultaneous response to any given circumstances and roles. The students had an intrinsic learning since they gained some new perceptions about themselves and their community. They also gained self-worth and learned to be responsible for their practice and performance. They also learned about a team working, which was the key to make their performance successful. For extrinsic learning, the students recognized the importance of the role as a change agent for their own community. In this project, these students appreciated the living-style in the old days along the Narapirom canal. The students reconnected with people in the community through this project. They recognized that they could help cutting, drying and selling water hyacinths in order to make the canal clean. This concept is highly important to be understood by people in the communitthat the Narapirom canal was once the center of people in the community in the past. It is highly important to create a concerned and active person who live in and belong to the community in order to preserve the canal and protect the root and history of the community from being forgotten. As the facilitator and the director of this project, I believe that learning through drama and participating in a community-based learning project would make the students to gradually think more about the Makleu community. This learning process will make students become active and change agents of their own community in the future
ข้ามศาสตร์ ข้ามเวลา : วิจัยการแสดงในวิถีนิเวศวัฒนธรรม
วิจัยการแสดง/ปรัชญา กรากฏการณ์และกระบวนการวิจัยของนักปฏิบัติ --ก่อนอ่านบทความวิจัย -- การพัฒนาการแสดงโหมโรงสามประสาน วัฒนธรรมชุมชนภาคใต้ / ธรรมนิตย์ นิคมรัตน์ -- โหมโรงสามประสาน ดนตรีประสานสามวัฒนธรรมภาคใต้ / สินนภา สารสาส -- ปรากฏการณ์-นางรำ-ใน-โหมโรง / ธนภรณ์ แสนอ้าย -- ทำ "จิตสร้างสรรค์" ให้กระปรี้กระเปร่า / พรรัตน์ ดำรุง -- 'คีนาฏการล้านนา' การสร้างสรรค์ศิลปะการแสดงภายใต้กระบวนการสืบสานภูมิปัญญาล้านนา / ศรัณ สุวรรณโชติ -- สินไซรู้ใจตนสร้างสรรค์การแสดงหุ่นร่วมสมัย เพื่อความเข้าใจตัวตนและฝึกฝนทักษะชีวิต / พชญ อัคพราหมณ์ -- ความเป็นละครของสินไซรู้ใจตนเรื่องเล่าที่ใช้จินตนาการและความจริง (Truth) ทางศิลปะ / พรรัตน์ ดำรุง
สินไซรู้ใจตน: การเรียนรู้ใหม่ผ่านการฝึกทักษะชีวิตในกระบวนสร้างสรรค์การแสดงหุ่นเพื่อความเข้าใจตัวตน
สินไซรู้ใจตน: การเรียนรู้ใหม่ผ่านการฝึกทักษะชีวิตในกระบวนสร้างสรรค์การแสดงหุ่นเพื่อความเข้าใจตัวตน Sinsai Roo Jai Ton: Relearn through training life-skill in the process of making puppet performance for self-understanding ในบทความผู้เขียนได้สะท้อนจากบันทึกและวิเคราะห์ในมุมมองของผู้เขียนที่ได้มีบทบาทเป็นส่วนหนึ่งในผู้มีส่วนร่วมตลอดกระบวนการของโครงการวิจัยสินไซรู้ใจตนในกระบวนการสร้างสรรค์การแสดงหุ่นร่วมสมัย โดยตลอดระยะเวลา 2 ปี ช่วง พ.ศ.2559-2561 การทำงานร่วมกับหัวหน้าโครงการวิจัย อ.พชญ อัคพราหมณ์ และผู้มีส่วนร่วมในโครงการซึ่งเป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในขณะนั้น 6 คน รวมผู้เขียนด้วย โดยสามารถแบ่งช่วงฝึกฝนและเรียนรู้ได้ด้วยตนเองผ่านงานปฏิบัติและลงมือทำจริงๆ ได้ 3 ช่วงหลัก คือ ช่วงที่ 1 ทดสอบใจ ช่วงที่ 2 ล้อมวงสร้างสรรค์ และช่วงที่ 3 สินไซเดินดง คนเดินทาง โดยในแต่ละช่วงผู้เขียนได้ร่วมกระบวนการฝึกทักษะชีวิตและสร้างสรรค์หุ่นร่วมสมัยและทำงานร่วมกับศิลปินชุมชน ครูเซียงปรีชา การุณ พ่อครูแม่ครู และคุณตาคุณยายในหมู่บ้าน ซึ่งเป็นการทำงานร่วมกันในหลายช่วงวัย ช่วยเติมเต็มช่องว่างของช่วงวัยที่ห่างขยับเข้ามาใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น