Publication: Gao Xingjian's Bus Stop: Dystopian in Contemporary China
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
MANUSYA: Journal of Humanities
Volume
19
Issue
2
Edition
Start Page
49
End Page
70
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Gao Xingjian's Bus Stop: Dystopian in Contemporary China
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This article aims to discuss how Gao Xingjian recontextualizes European dystopianism into China under Mao Zedong’s ideological manipulation of “utopia,” which the latter adopted from Karl Marx. The theme of absurd eternal waiting for a bus in Bus Stop is technically employed to criticize the Chinese dream of utopia and the idea of utopia itself as a whole. When the theme of waiting in Waiting for Godot is relocated into a Chinese context, it diverts from Western drama by means of Gao Xingjian’s dramaturgical innovation as a blend of the East and the West. The absurdity in Bus Stop makes Chinese utopian desire fetishized as an eternal but ubiquitous zero, and becomes naked politics as utopia for desire and desire for utopia.
บทความนี้มุ่งวิเคราะห์วิธีการที่เกาสิงเจี้ยนนำแนวคิดดิสโทเปีย (dystopianism) แบบยุโรปเข้ามาปลูกถ่ายในบริบทจีน ซึ่งในยุคนั้นตกอยู่ภายใต้การจัดการทางอุดมการณ์แบบยูโทเปียซึ่งเหมาเจอตงรับมาจากมาร์กซ์ แก่นเรื่องแนวแปลกวิสัยว่าด้วยการรอคอยยูโทเปีย ซึ่งเปรียบเสมือนการรอรถประจำทางถูกนำมาใช้ในฐานะกลวิธีเพื่อวิพากษ์ความโหยหาโลกอุดมคติในแบบของคนจีน ขณะเดียวกันก็วิพากษ์แนวคิดยูโทเปียทั้งระบบไปด้วย เมื่อแก่นเรื่องการรอโลกอุดมคติใน รอโกโดด์ถูกย้ายมาในบริบทจีน เกาสิงเจี้ยนได้ผสานองค์ประกอบแบบตะวันออกเข้าไปในการละครของเขา ทำให้บทละครของเขามีความเป็นทั้งตะวันตกและตะวันออกอยู่ในตัว สร้างนวัตกรรมใหม่แก่วงการละครในบริบทโลก ความขำขัน (absurdity) ในป้ายรถประจำทาง ทำให้ความโหยหาในยูโทเปียของคนจีนกลายเป็นวัตถุแห่งความปรารถนาเพื่อปรารถนา เมื่อความปรารถนาถูกปรารถนาไปเรื่อยๆ ก็ไม่รู้สึกว่า ตนเองกำลังปรารถนา (eternal zero) และกลายเป็นเรื่องการเมืองที่เปลือยกาย (naked politics) ต่อสาธารณะ เพราะมันเป็นยูโทเปียที่หล่อเลี้ยงให้เราปรารถนา และเราก็โหยหายูโทเปียอยู่อย่างนิจนิรันดร์
บทความนี้มุ่งวิเคราะห์วิธีการที่เกาสิงเจี้ยนนำแนวคิดดิสโทเปีย (dystopianism) แบบยุโรปเข้ามาปลูกถ่ายในบริบทจีน ซึ่งในยุคนั้นตกอยู่ภายใต้การจัดการทางอุดมการณ์แบบยูโทเปียซึ่งเหมาเจอตงรับมาจากมาร์กซ์ แก่นเรื่องแนวแปลกวิสัยว่าด้วยการรอคอยยูโทเปีย ซึ่งเปรียบเสมือนการรอรถประจำทางถูกนำมาใช้ในฐานะกลวิธีเพื่อวิพากษ์ความโหยหาโลกอุดมคติในแบบของคนจีน ขณะเดียวกันก็วิพากษ์แนวคิดยูโทเปียทั้งระบบไปด้วย เมื่อแก่นเรื่องการรอโลกอุดมคติใน รอโกโดด์ถูกย้ายมาในบริบทจีน เกาสิงเจี้ยนได้ผสานองค์ประกอบแบบตะวันออกเข้าไปในการละครของเขา ทำให้บทละครของเขามีความเป็นทั้งตะวันตกและตะวันออกอยู่ในตัว สร้างนวัตกรรมใหม่แก่วงการละครในบริบทโลก ความขำขัน (absurdity) ในป้ายรถประจำทาง ทำให้ความโหยหาในยูโทเปียของคนจีนกลายเป็นวัตถุแห่งความปรารถนาเพื่อปรารถนา เมื่อความปรารถนาถูกปรารถนาไปเรื่อยๆ ก็ไม่รู้สึกว่า ตนเองกำลังปรารถนา (eternal zero) และกลายเป็นเรื่องการเมืองที่เปลือยกาย (naked politics) ต่อสาธารณะ เพราะมันเป็นยูโทเปียที่หล่อเลี้ยงให้เราปรารถนา และเราก็โหยหายูโทเปียอยู่อย่างนิจนิรันดร์