Publication: Analyse syntaxique et sémantique des mots entre guillemets dans le magazine Gavroche; A syntactic and semantic analysis of the words in quotation marks in Gavroche
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
fr
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
0857-5290
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Srinakharinwirot Research and Development (Journal of Humanities and Social Sciences)
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์)
Volume
8
Issue
15
Edition
Start Page
195
End Page
205
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Analyse syntaxique et sémantique des mots entre guillemets dans le magazine Gavroche; A syntactic and semantic analysis of the words in quotation marks in Gavroche
Alternative Title(s)
การวิเคราะห์ทางวากยสัมพันธ์และอรรถศาสตร์ของการใช้คำในอัญประกาศในนิตยสาร Gavroche
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
La ponctuation joue un rôle important dans la phrase. Certaines, notamment les guillemets, servent à marquer, par exemple, les diffrents niveaux discursifs. Dans la presse écrite contemporaine, les guillemets figurent parmi les ponctuations les plus employées dans presque tous les articles, notamment le reportage et l’interview. L’objectif de ce présent travail est de répondre à deux questions principales : comment les mots entre guillemets s’int่grent au sein d’une phrase et quels sont des statuts sémantiques de ces mots, en examinant les phrases comportant les mots entre guillemets du magazine Gavroche, le seul magazine en langue française publié en Thaïlande à partir du numéro 200 (juin 2011) au numéro 211 (mai 2012). Cette étude montre que, du point de vue syntaxique, les mots entre guillemets s’int่grent dans la phrase matrice de deux façons : soit ils s’introduisent en gardant leurs propres natures morpho-syntaxiques, soit ils deviennent un syntagme nominal en fonctions diverses dans la phrase. Du point de vue sémantique, les mots entre guillemets ont un statut sémantique complexe : ceux qui sont employés comme syntagme nominal sont les mots en mention et relèvent de l’autonymie, par contre, ceux qui sont employés selon leurs natures morpho-syntaxiques sont des mots en usage avec mention et font partie de la modalisation autonymique. ; Punctuations have an important function in written sentences. Some, in particular quotation marks, are used to indicate different levels of discourse. In contemporary press, quotation marks are among the most punctuation used in almost every article, especially in newspaper reports and interview articles. The objective of this present article is to study syntactic intergration of words in quotation marks in sentences and their semantic status by examining sentences with words in quotation marks collected from a french magazine Gavroche, the only french language magazine published in Thailand, from issue 200 (June 2011) to issue 211 (May 2012). This study shows that words in quotation marks can be found in main sentences as units maintaining their own morphosyntactic natures or as a nominal phrase used in different functions. It also reveals that words in quotation marks have a complex semantic status: those becoming nominal phrases are words that are showed, having the status of autonyme; and those maintaining their morphosyntactic natures are words that are used and showed, having the status of modalisation autonymique.
เครื่องหมายวรรคตอนต่างๆ มีบทบาทที่สำคัญมากในการศึกษาประโยคชนิดต่างๆ เครื่องหมายวรรคตอนบางประเภทโดยเฉพาะเครื่องหมายอัญประกาศสามารถใช้เพื่อแสดงที่มาของการผลิตข้อความที่หลากหลายได้ ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้อัญประกาศเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะในบทความสารคดีและบทความสัมภาษณ์ในนิตยสารต่างๆ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้คือการศึกษาการแทรกตัวทางวากยสัมพันธ์ของคำในเครื่องหมายอัญประกาศในประโยค และสถานะทางอรรถศาสตร์ของคำในเครื่องหมายอัญประกาศ โดยการศึกษาประโยคที่มีคำในเครื่องหมายอัญประกาศแทรกอยู่ ที่รวบรวมมาจากนิตยสารกาวรอช (Gavroche) ซึ่งเป็นนิตยสารภาษาฝรั่งเศสฉบับเดียวที่ตีพิมพ์ในประเทศไทย ตั้งแต่ฉบับที่ 200 (มิถุนายน 2554) ถึงฉบับที่ 211 (พฤษภาคม 2555) งานวิจัยชิ้นนี้แสดงให้เห็นว่าคำในเครื่องหมายอัญประกาศสามารถแทรกตัวทางวากยสัมพันธ์ในประโยคหลักได้ 2 วิธี คือแทรกตัวตามลักษณะเฉพาะทางวจีวิภาคและวากยสัมพันธ์หรือแทรกตัวในฐานะนามวลีที่ทำหน้าที่ต่างๆ ในประโยค ทางอรรถศาสตร์คำในเครื่องหมายอัญประกาศมีสถานะที่ซับซ้อน คำในเครื่องหมายอัญประกาศที่ถูกใช้ในฐานะนามวลีเป็นคำที่ถูกอ้างถึงและมีสถานะเป็นสัญญะที่อ้างถึงตัวเองหรืออัตตสัญญะ (Autonymie) ส่วนคำในเครื่องหมายอัญประกาศที่ถูกใช้ตามลักษณะทางวจีวิภาคและวากยสัมพันธ์มีสถานะเป็นคำที่ถูกใช้และถูกอ้างถึงด้วยในเวลาเดียวกัน และมีสถานะเป็นการใช้คำแบบอัตตสัญญะ (Modalisation Autonymique) รูปแบบหนึ่ง
เครื่องหมายวรรคตอนต่างๆ มีบทบาทที่สำคัญมากในการศึกษาประโยคชนิดต่างๆ เครื่องหมายวรรคตอนบางประเภทโดยเฉพาะเครื่องหมายอัญประกาศสามารถใช้เพื่อแสดงที่มาของการผลิตข้อความที่หลากหลายได้ ในปัจจุบันพบว่ามีการใช้อัญประกาศเป็นจำนวนมากโดยเฉพาะในบทความสารคดีและบทความสัมภาษณ์ในนิตยสารต่างๆ วัตถุประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้คือการศึกษาการแทรกตัวทางวากยสัมพันธ์ของคำในเครื่องหมายอัญประกาศในประโยค และสถานะทางอรรถศาสตร์ของคำในเครื่องหมายอัญประกาศ โดยการศึกษาประโยคที่มีคำในเครื่องหมายอัญประกาศแทรกอยู่ ที่รวบรวมมาจากนิตยสารกาวรอช (Gavroche) ซึ่งเป็นนิตยสารภาษาฝรั่งเศสฉบับเดียวที่ตีพิมพ์ในประเทศไทย ตั้งแต่ฉบับที่ 200 (มิถุนายน 2554) ถึงฉบับที่ 211 (พฤษภาคม 2555) งานวิจัยชิ้นนี้แสดงให้เห็นว่าคำในเครื่องหมายอัญประกาศสามารถแทรกตัวทางวากยสัมพันธ์ในประโยคหลักได้ 2 วิธี คือแทรกตัวตามลักษณะเฉพาะทางวจีวิภาคและวากยสัมพันธ์หรือแทรกตัวในฐานะนามวลีที่ทำหน้าที่ต่างๆ ในประโยค ทางอรรถศาสตร์คำในเครื่องหมายอัญประกาศมีสถานะที่ซับซ้อน คำในเครื่องหมายอัญประกาศที่ถูกใช้ในฐานะนามวลีเป็นคำที่ถูกอ้างถึงและมีสถานะเป็นสัญญะที่อ้างถึงตัวเองหรืออัตตสัญญะ (Autonymie) ส่วนคำในเครื่องหมายอัญประกาศที่ถูกใช้ตามลักษณะทางวจีวิภาคและวากยสัมพันธ์มีสถานะเป็นคำที่ถูกใช้และถูกอ้างถึงด้วยในเวลาเดียวกัน และมีสถานะเป็นการใช้คำแบบอัตตสัญญะ (Modalisation Autonymique) รูปแบบหนึ่ง
Table of contents
Description
บทความวิชาการ