Publication: ศึกษาหลักธรรมที่ส่งเสริมต่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร
dc.contributor.author | พระอธิการไพทูลย์ ตีบไธสง | |
dc.contributor.author | ธานี สุวรรรณประทีป | |
dc.contributor.author | Phraathikarn Paitoon Teebthaisong | en |
dc.contributor.author | Thanee Suwanprateeb | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:38:25Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:38:25Z | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.date.issuedBE | 2565 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุประสงค์ 2 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาเนื้อหาและหลักธรรมในสฬายตนวิภังคสูตร 2) เพื่อศึกษาหลักธรรมที่ส่งเสริมต่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร เป็นการวิจัยเชิงเอกสาร โดยการศึกษาข้อมูลจากคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท คือ พระไตรปิฎก อรรถกถา และคัมภีร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น คัมภีร์วิสุทธิมรรค เป็นต้น ตรวจสอบโดยอาจารย์ที่ปรึกษา ปรับปรุงแก้ไข เรียบเรียง บรรยายเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สฬายตนวิภังคสูตรเป็นพระสูตรที่แจกแจงถึงหลักธรรมที่ผู้ปฏิบัติพึงทราบอันได้แก่ อายตนะภายใน 6 อายตนะภายนอก 6 วิญญาณ 6 ผัสสะ 6 มโนปวิจาร 18 สัตตบท 36 เพื่อให้ทราบชัดถึงลักษณะ หน้าที่ และการทำงานของอายตนะ 12 และหมวดธรรมอื่น ๆ ในพระสูตรซึ่งล้วนมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันและอาศัยหลักธรรมเหล่านั้นเป็นอารมณ์หลักในการเจริญวิปัสสนาภาวนา เพื่อให้เกิดญาณปัญญาซึ่งนำไปสู่ความเห็นแจ้งสภาวธรรมตามเป็นจริง ดังนั้น กระบวนการส่งเสริมการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตรจึงเป็นการนำเอาความรู้ความเข้าใจเรื่องอายตนะมาเป็นหลักธรรมที่ใช้ส่งเสริมในการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนา เป็นการพัฒนาปัญญาแบบวิปัสสนายานิกคือ การเจริญวิปัสสนาล้วน ๆ อาศัยขณิกสมาธิในการกำหนดรู้รูปนามปัจจุบันเป็นอารมณ์ โดยผู้ปฏิบัติวิปัสสนาต้องอาศัยหลัก โพธิปักขิยธรรม คือธรรมะอันเป็นเครื่องตรัสรู้ บุคคลเมื่อรู้เมื่อเห็นอายตนะ ตามความเป็นจริง เมื่อรู้เมื่อเห็นอายตนะ ตามความเป็นจริง เห็นสุข ทุกข์ อสุขมทุกข์อันเกิดจากผัสสะ เป็นปัจจัย ย่อมเบื่อหน่าย เมื่อเบื่อหน่ายย่อมคลายกำหนัด เมื่อคลายกำหนัดย่อมหลุดพ้นจากทุกข์ทั้งปวงได้ | |
dc.description.abstract | This research paper contained 2 objectives: 1) to study the teachings found in Salayatanavibhanga-sutta and 2) to study the Vipassana meditation practice in Salayatanavibhanga-sutta by the study of Theravada Buddhist texts such as Tipitaka, commentaries, sub-commentaries, texts, and other involving books, such as Visuddhimagga etc. then verified by an expert, reviewed, and complied with descriptions. The findings showed that Salatanavibhanga-sutta is a discourse dealing with the principal analysis that the practitioners must understand. The analyses are of six Ayanatana or internal senses, six outer senses, six consciousness, six contacts, eighteen Manopavicara, and thirty-six Sattapada. They must understand these principles by its characters, functions, and how the 12 sensual organs work. There are other teachings related and grouped in such teachings which enable us to use them as meditative objects of insight development for the advancement of insight knowledge which leads to complete realization. The method in the Salatanavibhagga-sutta was based on the clear and systematic understanding of sensual organs as the basis of insight investigation. This method is Vipassanayanika practice, which refers to pure insight meditation called Suddhavipassana, using only momentary concentration to observe any present Nama and Rupa as the meditative object. This practice requires the gradual training on Bodhipakkhiyadhamma or enlightenment factors, conditional practice to know or to experience of truth realization as the tool of practice. In practical codes, when the six internal sensual contacts, the outer six sensual contacts, six consciousness and six contacts occur, and whenever happiness, unhappiness, or neutral feelings arise from six contacts as its factors, the meditator observing them all as they really are as impermanent, suffering, and non-self, will soon be bored, detaching from lust, finally liberated and freed from all suffering. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4813 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | สฬายตนวิภังคสูตร | |
dc.subject | อายตนะ | |
dc.subject | สุทธวิปัสสนา | |
dc.subject | Salātanavibhagga | |
dc.subject | Āyanatana | |
dc.subject | Vipassanāyānika | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | ศึกษาหลักธรรมที่ส่งเสริมต่อการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร | |
dc.title.alternative | A Study of The Supportive Teachings to Insight Practice in Salayatana Sutta | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 757 | |
harrt.researchArea | ปรัชญา - อื่นๆ | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | ปรัชญาศาสนา | |
harrt.researchTheme.2 | พุทธศาสนศึกษา | |
mods.location.url | https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/256646 | |
oaire.citation.endPage | 326 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 318 | |
oaire.citation.title | วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Journal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences | en |
oaire.citation.volume | 5 |