ปรัชญา - อื่นๆ

Permanent URI for this collection

Browse

Recent Submissions

Now showing 1 - 5 of 172
No Thumbnail Available
Publication

A comparison of the concept of compassion in the phenomenology of scheler and in theravada buddhism

Holger Lammert (2023)

In this dissertation, the researcher will attempt to explore the concept of compassion, in the manner in which it is understood in Western phenomenology and in the manner it is understood in Theravāda Buddhism. Compassion in phenomenology is connected in a constellation with other concepts such as empathy, pity and sympathy. It is the phenomenological approach of Max Scheler which tries to disentangle these concepts and consider them from a moral perspective. Max Scheler tries to consider the relationship of our mental states with that of other individuals through a phenomenological determination of value (involving love and hate), which can also can be interpreted as the root of morality in the broadest sense. One's morality is determined by one's feelings toward the other, while not having one's moral judgement contaminated by one's feelings. Central to this approach is the idea of the intentionality of the human subject. In Theravāda Buddhism, emotional contagion is also understood as a form of attachment and is considered to be counterproductive to the feeling of compassion. The Theravāda Buddhist tradition focuses on the concept of compassion, which is the object of meditation practice separate from the experiences of empathy and sympathy. Individual experience is widely believed to be the key to developing compassion. In the Theravāda Buddhist tradition, however, it is an acknowledgment of the suffering of others based less on intention and more on practical action, which is also linked to Buddhist practices such as meditation and dealing with fellow human beings. This dissertation will show that knowing and understanding the differences between empathy, sympathy, and compassion is important to clarifying the differences between Western Christian-influenced sociology and phenomenology and the special status of compassion as part of Theravāda Buddhism.

No Thumbnail Available
Publication

สมบัติผู้ดีกรอบการดำเนินชีวิตตามกระบวนทรรศน์ปรัชญาหลังนวยุคสายกลาง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน

จิรวัฒน์ นิติบรมัตถ์ธาดา (2021)

No Thumbnail Available
Publication

ถกเถียงเรื่องคุณค่า: รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์

ปกรณ์ ลิมปนุสรณ์, มนธิรา ราโท, เสาวณิต จุลวงศ์, นัทธนัย ประสานนาม, ธนาพล ลิ่มอภิชาต, ทอแสง เชาว์ชุติ, อาทิตย์ ชีรวณิชย์กุล, รชฎ สาตราวุธ, ธนภาษ เดชพาวุฒิกุล, จณิษฐ์ เฟื่องฟู, อุทัช เกษรวิบูลย์, พจน์ปรีชา ชลวิจารณ์ (2016)

No Thumbnail Available
Publication

การศึกษาเปรียบเทียบปรัชญาการเมืองของเพลโตกับแนวคิดทางการเมืองของพุทธทาสภิกขุ

พระนิติกร จิตฺตคุตฺโต (วิชุมา) (2012)

การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปรัชญาการเมืองของเพลโต แนวคิดทาง การเมืองของพุทธทาสภิกขุ และเปรียบเทียบปรัชญาการเมืองของเพลโตกับแนวคิดทางการเมือง ของพุทธทาสภิกขุ การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการศึกษาจากเอกสารและงานวิจัย ผลการวิจัยพบว่า ปรัชญาการเมืองของเพลโต ก่อรูปแนวคิดขึ้นจากสภาพความปั่นป่วน ทางการเมืองของเอเธนส์ และสภาพแวดล้อมทางครอบครัวที่อยู่ในสังคมชั้นสูง เพลโตมีทัศนะว่า อุตมรัฐเป็นสังคมอุดมคติที่ดีที่สุด มีจุดหมายทางการเมืองคือความยุติธรรม เพลโตให้ความส าคัญ กับระบอบอภิชนาธิปไตยที่เป็นระบอบการปกครองที่ใกล้เคียงกับอุตมรัฐมากที่สุด ลักษณะสังคม ของเพลโตจึงเป็นสังคมนิยม แต่เป็นสังคมนิยมที่เป็นไปเพื่อการเมือง ศีลธรรม และการศึกษา ส่วน สังคมนิยมทางเศรษฐกิจถูกน ามาใช้กับชนชั้นปกครองและชนชั้นผู้พิทักษ์ สังคมอุดมคติของเพลโต เป็นสังคมปลายปิด คือมีรูปแบบจ ากัดตายตัวและแน่นอนไม่อาจเปลี่ยนแปลงได้อีก พุทธทาสภิกขุมีแนวคิดทางการเมือง ที่มีพื้นฐานแนวคิดมาจากหลักธรรมของ พระพุทธศาสนา โดยประยุกต์กับวิชาการต่างๆ มาอธิบายความหมายของการเมือง คือหน้าที่ของ มนุษย์ที่จะต้องท าเพื่อประโยชน์ของของคนหมู่มาก ให้อยู่ร่วมกันอย่างมีความสงบสุข มนุษย์ต้อง ด าเนินชีวิตให้สอดคล้องกับสภาวะธรรมชาติ แต่ปัญหาของสังคมเกิดขึ้นเพราะ ความมีตัณหาของมนุษย์ที่เห็นแก่ตัว กอบโกยกักตุนจนมากเกิน ท่านจึงได้เสนอแนวคิด ”ธัมมิกสังคมนิยม” ที่เป็น สังคมที่ประกอบด้วยธรรม ยึดความเมตตากรุณาเอื้อเฟื้อต่อเพื่อนมนุษย์ด้วยกัน เมื่อน าแนวคิดของทั้งสองท่านมาเปรียบเทียบแล้ว เห็นว่า มีประเด็นที่เหมือนกัน คือ มี แนวคิดทางการเมืองแบบวิวัฒนาการเน้นที่การพัฒนาจิตใจ และคุณธรรมของผู้ปกครองหรือผู้น า ทางการเมือง ซึ่งสังคมการเมืองที่ดีต้องเกิดจากผู้น าที่มีคุณธรรม ทั้งสองท่านปฏิเสธการปกครอง แบบระบอบประชาธิปไตยแบบคนหมู่มาก และแตกต่างกันคือ เพลโตน าเสนอปรัชญาการเมืองที่ ไม่ได้มีพื้นฐานจากความเป็นจริง แต่ใช้วิธีการโต้แย้งด้วยเหตุผลเพื่อเข้าถึงสังคมอุดมคติ ให้ ความส าคัญรูปแบบการปกครองเผด็จการ ที่อ านาจอยู่กับชนชั้นปกครองเพียงกลุ่มเดียว และ ผู้ปกครองต้องผ่านการศึกษาที่ก าหนดเท่านั้น ส่วนพุทธทาสภิกขุไม่ให้ความส าคัญกับระบอบ ปกครองใดๆ เป็นพิเศษ แต่ยอมรับวิธีเผด็จการโดยธรรม ซึ่งมีจุดมุ่งหมายที่รวดเร็วในการ ปฏิบัติงานเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนาสังคมการเมืองเท่านั้น ท่านให้ประชาชนเป็นผู้เลือกผู้ปกครองที่ มีคุณธรรมด้วยตัวเอง อุตมรัฐเป็นรูปแบบของสังคมนิยมแบบโบราณ ที่เน้นความสัมพันธ์ ระหว่างประชาชนกับสังคม ถือกรรมสิทธิ์ครอบครองแบบสาธารณะ แตกต่างจากธัมมิกสังคมนิยม ที่เป็นลักษณะเฉพาะ ที่ต้องการให้มนุษย์ด าเนินชีวิตแบบพึ่งพาอาศัยซึ่งกันและกัน และแตกต่างจาก สังคมนิยมแบบมาร์กซิสต์ที่ให้ความส าคัญกับผลผลิตและเศรษฐกิจ เป็นการปกครองที่เกิดขึ้น จากความขัดแย้ง จุดเด่นแนวคิดของทั้งสองท่านคือ แก้ไขปัญหาของสังคมแบบพัฒนาการและ ระบบจริยธรรมทางสังคมได้ส่วนจุดด้อยของแนวคิด คือ แนวคิดของทั้งสองท่านมีความเป็นอุดม คติเกินไปโดยที่ไม่ยอมรับระบบประชาธิปไตยแบบคนหมู่มาก

No Thumbnail Available
Publication

สุขภาพองค์รวมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง: การศึกษาเชิงวิเคราะห์ วิจักษ์ และวิธาน

สุดธิณีย์ ทองจันทร์ (2022)