Publication: โรงภาพยนตร์กับวัฒนธรรมภาพยนตร์ในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2500-2520
dc.contributor.author | ปฏิพัทธ์ สถาพร | |
dc.contributor.author | Patipat Sathaporn | en |
dc.coverage.temporal | 1957-1977 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:17:55Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:17:55Z | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.date.issuedBE | 2560 | |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างโรงภาพยนตร์กับวัฒนธรรมภาพยนตร์ โดยใช้วิธีวิจัยทางประวัติศาสตร์เพื่ออธิบายบทบาทของโรงภาพยนตร์ต่อการเผยแพร่และการชมภาพยนตร์ในสังคมกรุงเทพฯ จากการศึกษาพบว่า ในช่วง พ.ศ. 2500-2520 ซึ่งถือเป็นยุคเฟื่องฟูของกิจการโรงภาพยนตร์ในกรุงเทพฯ โรงภาพยนตร์ได้กลายเป็นส่วนหนึ่งของวิถีชีวิตแบบเมืองและเป็นตัวแทนของการพัฒนาและความทันสมัย วัฒนธรรมภาพยนตร์ในมิติต่าง ๆ ทั้งการสร้างภาพยนตร์ ธุรกิจภาพยนตร์ ตลอดจนวิถีการชมภาพยนตร์ต่างก็มีปฏิสัมพันธ์กันและปรากฏให้เห็นผ่านพื้นที่โรงภาพยนตร์ การดำเนินงานบนพื้นฐานธุรกิจส่งผลให้การแข่งขันเพื่อสร้างกำไรเป็นเป้าหมายสำคัญของโรงภาพยนตร์ ภาพยนตร์ต่างประเทศ โดยเฉพาะภาพยนตร์ฮอลลีวูด จึงครองตลาดการฉายในโรงภาพยนตร์ชั้นหนึ่งกรุงเทพฯ ขณะที่โรงภาพยนตร์ชั้นสองและชั้นสามเป็นพื้นที่เปิดสำหรับภาพยนตร์ทุกสัญชาติ ยุคเฟื่องฟูของโรงภาพยนตร์นี้ดำรงอยู่ควบคู่ไปกับช่องทางการชมภาพยนตร์ในรูปแบบอื่น ๆ ได้แก่ โทรทัศน์ สถาบันทางวัฒนธรรม และภาพยนตร์กลางแปลง ซึ่งล้วนมีส่วนในการสร้างวัฒนธรรมการชมที่แตกต่างกันไป ทว่าโรงภาพยนตร์ก็ยังเป็นพื้นที่หลักสำหรับการฉายและการชมภาพยนตร์ วิทยานิพนธ์นี้เสนอว่าพื้นที่ฉายมีบทบาทสำคัญในการบ่มเพาะวัฒนธรรมภาพยนตร์ที่แตกต่างกันไป | |
dc.description.abstract | This thesis aims to study the relationship between cinema and cinematic culture. Historical approach is used to explain the role of cinemas on film distribution and film watching in Bangkok. It demonstrates that during 1957-1977, a flourishing period of modern cinemas in Bangkok, cinemas became part of urban lifestyle and represented the modern development. Since the cinema operation was businessoriented, it is undeniable that to earn profit was the main objective. In doing so, foreign films, especially Hollywood films, dominated first-run cinemas, whereas second and third-run cinemas were showing films from anywhere. At the same time, there were also alternative spaces for viewing film, such as television, cultural institutions and open-air screening. However, cinemas were still the main and most popular site for film viewing. This thesis argues that the site of film screening has played an important role in cultivating different cinematic cultures. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/8012 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | โรงภาพยนตร์ | |
dc.subject | วัฒนธรรมภาพยนตร์ | |
dc.subject | ภาพยนตร์ | |
dc.subject | ความบันเทิง | |
dc.subject | กรุงเทพฯ | |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ภาพยนตร์ | |
dc.subject | Cinemas | |
dc.subject | Cinematic Culture | |
dc.subject | Bangkok | |
dc.subject | Movie | |
dc.subject | Entertainment | |
dc.subject | Cinema History | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | โรงภาพยนตร์กับวัฒนธรรมภาพยนตร์ในกรุงเทพฯ พ.ศ. 2500-2520 | |
dc.title.alternative | Cinemas and cinematic cultures in Bangkok, 1957-1977 | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 59 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์สังคมวัฒนธรรม | |
mods.location.url | http://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:145326 | |
thesis.degree.department | คณะศิลปศาสตร์ | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |