Publication: 表状态或方式的 “V1 着 V2” 中动词前后位置的制约因素分析
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
中国语言文化学刊
Journal of Chinese Language and Culture, Huachiew Chalermprakiet University
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Journal of Chinese Language and Culture, Huachiew Chalermprakiet University
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Volume
8
Issue
2
Edition
Start Page
195
End Page
212
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
表状态或方式的 “V1 着 V2” 中动词前后位置的制约因素分析
Alternative Title(s)
An Analysis of the Constraints on the Position of Verbs in “V1 zhe V2” expressing mode-manner
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
在V1 表示 V2 的状态或方式的“V1 着 V2”结构中两个动词的排列顺序的规律是一个尚末深入研宄的话题。基于对北京语言大学语料库数据的分析,本文力图对制约两个动词前后位置的机制进行研究,并指出制约两个动词在排列顺序上的主要因素是动词的内部过程结构:一个动词的过程结构的起点越强,它的续段就越长,就越含有状态义,使它更容易充当 V1。相反,一个动词的过程结构的终点越强,就越含有动作义强到变化义的特征,使它更适合充当 V2。本文希望能提高汉语学习者对该结构的理解,帮助教师更好地解释该结构的使用错误和使用条件。
As the order of the two verbs in the "V1 着V2" structure in which V1 represents the mode or manner of V2 has not been studied in depth, this paper aims to analyze the mechanism that restricts the front and back positions of these two verbs. Based on the analysis of the data collected from Corpus of Beijing Language and Culture University, the findings show that the internal process structure of the verb is the main factor that constraints the order of the two verbs: there is a positive correlation between the inception strength (starting time) of a verb process structure, its duration (continuous phase), and the amount of mode-manner meaning shown. These conditions make it easier for a verb to serve as a V1. On the contrary, stronger ending times of a verb process structure and a high number of features (strong action and transformation meanings) make a verb more suitable to serve as V2. This paper hopes to enhance Chinese language learners’ understanding of this structure and to help teachers to better explain students’ common errors of this structure.
เนื่องจากลำดับของคำกริยาในโครงสร้าง "V1 着 V2" ในแบบที่ V1 แสดงถึงสถานะหรือลักษณะของ V2 ยังไม่มีการศึกษาในเชิงลึก งานวิจัยฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลไกที่กำหนดตำแหน่งหน้าหลังของคำกริยาทั้งสองนี้จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมจาก Corpus of Beijing Language and Culture University พบว่าปัจจัยสำคัญที่กำหนดตำแหน่งหน้าหลังของคำกริยาทั้ง 2 คำนี้คือโครงสร้างที่แสดงกระบวนการภายในของคำกริยาทั้งสอง เมื่อคำกริยาตัวนั้นแสดงถึงจุดเริ่มต้นของกระบวนการกระทำกริยายิ่งชัดเจนมากเท่าไร ความต่อเนื่องของการกระทำของคำกริยาตัวนั้นก็จะยิ่งยาวนานขึ้น และยังสามารถแสดงถึงสภาพของการกระทำได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงสามารถวางคำกริยาที่มีลักษณะดังกล่าวในตำแหน่ง V1 ได้ง่ายขึ้น ในทางตรงข้าม เมื่อคำกริยาตัวนั้นแสดงถึงจุดสิ้นสุดของกระบวนการกระทำกริยายิ่งชัดเจนมากเท่าไร จะยิ่งแสดงลักษณะของการกระทำที่เด่นชัดมากขึ้นไปจนกระทั่งแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงหลังจากการกระทำนั้นเกิดขึ้น คำกริยาที่มีลักษณะดังกล่าวจึงเหมาะสมที่จะวางในตำแหน่ง V2 งานวิจัยนี้มุ่งหวังให้ผู้เรียนภาษาจีนมีความเข้าใจการใช้โครงสร้างนี้เพิ่มขึ้น และเป็นประโยชน์สำหรับครูในการอธิบายข้อผิดพลาดของการใช้โครงสร้างนี้
As the order of the two verbs in the "V1 着V2" structure in which V1 represents the mode or manner of V2 has not been studied in depth, this paper aims to analyze the mechanism that restricts the front and back positions of these two verbs. Based on the analysis of the data collected from Corpus of Beijing Language and Culture University, the findings show that the internal process structure of the verb is the main factor that constraints the order of the two verbs: there is a positive correlation between the inception strength (starting time) of a verb process structure, its duration (continuous phase), and the amount of mode-manner meaning shown. These conditions make it easier for a verb to serve as a V1. On the contrary, stronger ending times of a verb process structure and a high number of features (strong action and transformation meanings) make a verb more suitable to serve as V2. This paper hopes to enhance Chinese language learners’ understanding of this structure and to help teachers to better explain students’ common errors of this structure.
เนื่องจากลำดับของคำกริยาในโครงสร้าง "V1 着 V2" ในแบบที่ V1 แสดงถึงสถานะหรือลักษณะของ V2 ยังไม่มีการศึกษาในเชิงลึก งานวิจัยฉบับนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์กลไกที่กำหนดตำแหน่งหน้าหลังของคำกริยาทั้งสองนี้จากการศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลที่รวบรวมจาก Corpus of Beijing Language and Culture University พบว่าปัจจัยสำคัญที่กำหนดตำแหน่งหน้าหลังของคำกริยาทั้ง 2 คำนี้คือโครงสร้างที่แสดงกระบวนการภายในของคำกริยาทั้งสอง เมื่อคำกริยาตัวนั้นแสดงถึงจุดเริ่มต้นของกระบวนการกระทำกริยายิ่งชัดเจนมากเท่าไร ความต่อเนื่องของการกระทำของคำกริยาตัวนั้นก็จะยิ่งยาวนานขึ้น และยังสามารถแสดงถึงสภาพของการกระทำได้ชัดเจนยิ่งขึ้น จึงสามารถวางคำกริยาที่มีลักษณะดังกล่าวในตำแหน่ง V1 ได้ง่ายขึ้น ในทางตรงข้าม เมื่อคำกริยาตัวนั้นแสดงถึงจุดสิ้นสุดของกระบวนการกระทำกริยายิ่งชัดเจนมากเท่าไร จะยิ่งแสดงลักษณะของการกระทำที่เด่นชัดมากขึ้นไปจนกระทั่งแสดงถึงการเปลี่ยนแปลงหลังจากการกระทำนั้นเกิดขึ้น คำกริยาที่มีลักษณะดังกล่าวจึงเหมาะสมที่จะวางในตำแหน่ง V2 งานวิจัยนี้มุ่งหวังให้ผู้เรียนภาษาจีนมีความเข้าใจการใช้โครงสร้างนี้เพิ่มขึ้น และเป็นประโยชน์สำหรับครูในการอธิบายข้อผิดพลาดของการใช้โครงสร้างนี้