Publication: การศึกษาเปรียบเทียบภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่องและการบอกวิธีทำจากความจำของเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 3
dc.contributor.author | สิรินาถ ปริยวงศ์กร | |
dc.contributor.author | Sirinat Pariyawongkorn | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T14:39:58Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T14:39:58Z | |
dc.date.issued | 2004 | |
dc.date.issuedBE | 2547 | |
dc.description.abstract | การศึกษานี้มีจุดประสงค์ที่จะเปรียบเทียบภาษาพูดและภาษาเขียนที่นักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 3 ใช้ในการเล่าเรื่อง “เพื่อน” ซ้ำ และบอกวิธีการวาดรูปหน้าแมว ผลการศึกษาแสดงว่า นักเรียนสามารถจำเรื่อง “เพื่อน” และขั้นตอนการวาดรูปหน้า แมวได้ทั้งหมด ในเรื่องเล่านักเรียนสามารถจำประเด็นหลักของเรื่อง ได้แก่ จุดเริ่มเรื่อง เหตุการณ์ยั่วยุ การพัฒนาความขัดแย้ง การคลี่คลายปัญหา และการสรุปภาษาที่นักเรียนใช้เล่าเรื่อง และบอกวิธีวาดรูปหน้าแมวมีบางส่วนที่เหมือนกับถ้อยคำที่ใช้ใน “ต้นฉบับ” บางส่วนก็เป็นภาษาของนักเรียนเอง และนักเรียนส่วนใหญ่สร้างเรื่องของตนเอง นักเรียนบางคนเพิ่มเติมรายละเอียดของเรื่อง โดยรวมนักเรียนให้รายละเอียดเมื่อเล่าเรื่องเป็นภาษาเขียนได้มากกว่าเมื่อเล่าปากเปล่า | |
dc.description.abstract | The objective of this study is to compare spoken and written language used by third graders in retelling a narrative, phuan, and a procedural discourse on how to draw the face of a cat. The results show that most students could remember the whole story and all the steps in drawing the face of a cat. The students could remember the main points of the story, namely, the beginning, the inciting moment, the developing conflict, the denouement, and the conclusion. Some of the language used by the students in retelling the story and retelling "how to draw the face of a cat" was identical to the original scripts. Some was created by the students. The beginning and the inciting moment of the narrative were told in identical words to the original scripts. Most students, however, created their own ending point. Some students added new details to the story. The students could give more details when retelling the story in writing than when retelling the story orally. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/8723 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
dc.publisher.place | กรุงเทพมหานคร | |
dc.subject.contentCoverage | THA - ไทย | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่องและการบอกวิธีทำจากความจำของเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 | |
dc.title.alternative | A comparative study of language used by third grade students in recalling a narrative and a procedural discourse | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 467 | |
harrt.researchArea | ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics) | |
harrt.researchGroup | ภาษาศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | วัจนปฏิบัติศาสตร์/ปริจเฉทวิเคราะห์/วาทกรรมวิเคราะห์ (Pragmatics/Discourse Analysis) | |
harrt.researchTheme.2 | ภาษาศาสตร์จิตวิทยา (Psycholinguistics) | |
mods.location.url | https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=184875 | |
thesis.degree.department | คณะศิลปศาสตร์ | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |