Publication: 中国传统文化在泰国的传播研究
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
中国语言文化学刊
Journal of Chinese Language and Culture, Huachiew Chalermprakiet University
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Journal of Chinese Language and Culture, Huachiew Chalermprakiet University
วารสารวิชาการภาษาและวัฒนธรรมจีน มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ
Volume
7
Issue
2
Edition
Start Page
223
End Page
240
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
中国传统文化在泰国的传播研究
Alternative Title(s)
RESEARCH OF THE DIFFUSION OF TRADITIONAL CHINESE CULTURE IN THAILAN
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
孔子学院与在泰国的中国汉语教师作为中国传统文化在泰国的主要传播者,为泰国的汉语教学与文化传播工作贡献了巨大力量。本文以孔子学院和在泰中国汉语教师为研究对象,通过访问的方式对其在泰国传播中国传统文化的传播动机、传播方式进行调查分析,对中国传统文化在泰国的传播现状进行了探讨。
สถาบันขงจื่อและครูสอนภาษาจีนในประเทศไทยซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย และได้สร้างผลงานอันทรงพลังทั้งด้านการเรียนการสอนภาษาจีนและการเผยแพร่วัฒนธรรมจุดสำคัญการวิจัยของบทความนี้ ได้แก่ สำรวจและวิเคราะห์แรงจูงใจและวิธีการด้านการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทยของสถาบันขงจื่อและครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย ค้นหาวิธีปรับปรุงประสิทธิภาพในการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย เพื่อเป็นแนวทางใหม่สำหรับการเรียนการสอนภาษาและวัฒนธรรมจีน บทความเรื่องนี้ได้ศึกษาวิเคราะห์แรงจูงใจ วิธีการ รวมทั้งสภาพปัจจุบันด้านการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย โดยผ่านกลวิธีการสัมภาษณ์ ซึ่งได้สุ่มเลือกครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย แบ่งออกเป็นครูชาวจีนจำนวน 20 คน และครูชาวไทยจำนวน 15 คน จากสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เปิดสอนวิชาภาษาจีนจำนวน 13 แห่งของ 4 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร ระยอง สมุทรปราการ และนนทบุรี ผลการศึกษาวิเคราะห์คือ การเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในประเทศไทย อยู่ในสถานภาพที่ดี นักเรียนโดยส่วนใหญ่ชอบวิชาวัฒนธรรมมาก ประการที่สอง สถาบันขงจื่อมีหน้าที่ในการวางแผนและจัดระบบมากกว่าเมื่อเทียบกับครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย ซึ่งมีหน้าที่จัดการเรียนการสอนกับนักเรียนเป็นหน้าต่อหน้ากัน จะทำให้การถ่ายทอดและสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประการสุดท้าย การเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนมีส่วนช่วยพัฒนาระดับความรู้ความสามารถด้านภาษาจีนของนักเรียน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาด้านการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยอีกด้วย บทความเรื่องนี้มีข้อเสนอแนะคือ นอกเหนือจากพัฒนาความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพของตนเองแล้ว ครูชาวจีนควรได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวภาษาและวัฒนธรรมไทยเพิ่มเติม ขณะเดียวกันครูชาวไทยก็ควรจะได้รับการอบรมความรู้เกี่ยววัฒนธรรมดั้งเดิมของจีน
สถาบันขงจื่อและครูสอนภาษาจีนในประเทศไทยซึ่งมีบทบาทสำคัญในการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย และได้สร้างผลงานอันทรงพลังทั้งด้านการเรียนการสอนภาษาจีนและการเผยแพร่วัฒนธรรมจุดสำคัญการวิจัยของบทความนี้ ได้แก่ สำรวจและวิเคราะห์แรงจูงใจและวิธีการด้านการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทยของสถาบันขงจื่อและครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย ค้นหาวิธีปรับปรุงประสิทธิภาพในการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย เพื่อเป็นแนวทางใหม่สำหรับการเรียนการสอนภาษาและวัฒนธรรมจีน บทความเรื่องนี้ได้ศึกษาวิเคราะห์แรงจูงใจ วิธีการ รวมทั้งสภาพปัจจุบันด้านการเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในไทย โดยผ่านกลวิธีการสัมภาษณ์ ซึ่งได้สุ่มเลือกครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย แบ่งออกเป็นครูชาวจีนจำนวน 20 คน และครูชาวไทยจำนวน 15 คน จากสถาบันอุดมศึกษาและโรงเรียนมัธยมศึกษาที่เปิดสอนวิชาภาษาจีนจำนวน 13 แห่งของ 4 จังหวัด คือ กรุงเทพมหานคร ระยอง สมุทรปราการ และนนทบุรี ผลการศึกษาวิเคราะห์คือ การเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนในประเทศไทย อยู่ในสถานภาพที่ดี นักเรียนโดยส่วนใหญ่ชอบวิชาวัฒนธรรมมาก ประการที่สอง สถาบันขงจื่อมีหน้าที่ในการวางแผนและจัดระบบมากกว่าเมื่อเทียบกับครูสอนภาษาจีนในประเทศไทย ซึ่งมีหน้าที่จัดการเรียนการสอนกับนักเรียนเป็นหน้าต่อหน้ากัน จะทำให้การถ่ายทอดและสื่อสารมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ประการสุดท้าย การเผยแพร่วัฒนธรรมดั้งเดิมของจีนมีส่วนช่วยพัฒนาระดับความรู้ความสามารถด้านภาษาจีนของนักเรียน อีกทั้งยังเป็นการส่งเสริมการพัฒนาด้านการเรียนการสอนภาษาจีนในประเทศไทยอีกด้วย บทความเรื่องนี้มีข้อเสนอแนะคือ นอกเหนือจากพัฒนาความรู้ความสามารถด้านวิชาชีพของตนเองแล้ว ครูชาวจีนควรได้รับการอบรมความรู้เกี่ยวภาษาและวัฒนธรรมไทยเพิ่มเติม ขณะเดียวกันครูชาวไทยก็ควรจะได้รับการอบรมความรู้เกี่ยววัฒนธรรมดั้งเดิมของจีน