Publication: การศึกษาสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ทางด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ แบบสร้างสรรค์เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2021
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-5033
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Roi Kaensarn Academi
Volume
6
Issue
11
Edition
Start Page
197
End Page
209
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การศึกษาสมรรถนะการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ทางด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษตามแนวทางการจัดการเรียนรู้ แบบสร้างสรรค์เป็นฐานและการจัดการเรียนรู้แบบโครงงานเป็นฐาน
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านความรู้ในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ทางด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษ หลังจากที่ได้รับการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานและแบบโครงงานเป็นฐาน โดยให้ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 และ 2. เพื่อศึกษาระดับสมรรถนะด้านทักษะและด้านเจตคติในการสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ทางด้านการออกเสียงภาษาอังกฤษ หลังจากที่ได้รับการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานและแบบโครงงานเป็นฐาน กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาสาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 2 คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา จำนวน 70 คน โดยใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง (Purposive Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสร้างสรรค์เป็นฐานและแบบโครงงานเป็นฐาน แบบทดสอบสมรรถนะด้านความรู้ และแบบสอบถามสมรรถนะด้านทักษะและด้านเจตคติ โดยเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมีค่าดัชนีความสอดคล้อง มากกว่า 0.5 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัย พบว่า 1. นักศึกษามีคะแนนประเมินสมรรถนะด้านความรู้ในการสร้างนวัตกรรมผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ทุกคน คิดเป็นคะแนนเฉลี่ยเท่ากับ 7.07 ซึ่งอยู่ในระดับมาก 2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับสมรรถนะในการสร้างนวัตกรรมของนักศึกษา ในด้านทักษะอยู่ในระดับมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.44 (S.D. = 0.07) ส่วนด้านเจตคติ พบว่า นักศึกษามีระดับสมรรถนะด้านเจตคติในการสร้างนวัตกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.60 (S.D. = 0.06)