Publication: จากบูโดสู่เซมังงัต: ประวัติศาสตร์แห่งการส่งเสริมศิลปะต่อสู้ป้องกันตัว ในเกาะชวา ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา (ค.ศ. 1942-1945)
dc.contributor.author | กษิดิศ วงษ์ลิขิตธรรม | |
dc.contributor.author | Ksidit Wonglikitthum | en |
dc.coverage.temporal | 1942-1945 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:13:03Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:13:03Z | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.date.issuedBE | 2560 | |
dc.description.abstract | บทความชิ้นนี้มุ่งศึกษาประวัติศาสตร์การส่งเสริมศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวในเกาะชวาของรัฐบาลกองทัพญี่ปุ่นช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพาใน ค.ศ.1942-1945 การเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ทางการสงครามและนโยบายทางการเมืองของกองทัพญี่ปุ่นช่วง ค.ศ. 1943 ได้ส่งผลให้กองทัพญี่ปุ่นหันมาให้ความสําาคัญกับนโยบายส่งเสริมศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว ด้วยจุดประสงค์สําาคัญคือระดมพลก้าวเป็นทหารในอนาคต ยิ่งไปกว่านั้น หลังจาก คุนิอากิ โคอิโซ นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ่นให้คําามั่นสัญญาต่อการประกาศเอกราชของอินโดนีเซีย การส่งเสริมศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวของญี่ปุ่นได้กลายเป็นแรงกระตุ้นสําาคัญต่อการเริ่มส่งเสริมปันจักสีลัตในฐานะกีฬา แห่งชาติตั้งแต่ช่วงปลายสงครามมหาเอเชียบูรพา | |
dc.description.abstract | This article will explain the history of martial art’s promotion policy in Java Island under the direction of the Japanese Military Administration during the Greater East Asia War (1942-1945). The change of Japanese strategy in 1943 turned their attention to the promotion of martial art policy for the purposes of military mobilization. Moreover, the martial art’s promotion policy has become the main factor for a genesis of Pencak Silat as national sport policy after Japan’s Prime Minister Kuniaki Koiso promised Indonesia independence. | en |
dc.identifier.issn | 2697-648X | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/7692 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | สถาบันเอเชียตะวันออกศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ | |
dc.subject | กีฬา | |
dc.subject | ศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัว | |
dc.subject | รัฐบาลกองทัพญี่ปุ่น | |
dc.subject | สงครามมหาเอเชียบูรพา | |
dc.subject | เกาะชวา | |
dc.subject | Sport | |
dc.subject | Martial Art | |
dc.subject | The Greater East Asia War | |
dc.subject | The Japanese Military Administration | |
dc.subject | Java Island | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | จากบูโดสู่เซมังงัต: ประวัติศาสตร์แห่งการส่งเสริมศิลปะต่อสู้ป้องกันตัว ในเกาะชวา ช่วงสงครามมหาเอเชียบูรพา (ค.ศ. 1942-1945) | |
dc.title.alternative | From Budo to Semangat: History of Matial Arts Promotion in Java during the Greater East of Asia War (1942-1945) | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 729 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์สังคมวัฒนธรรม | |
mods.location.url | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/japanese/article/view/113680/88334 | |
oaire.citation.endPage | 36 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 22 | |
oaire.citation.title | วารสารญี่ปุ่นศึกษา | |
oaire.citation.title | Japanese Journal Studies | en |
oaire.citation.volume | 34 |