Publication:
การเรียนรู้จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา

dc.contributor.authorบุญเชิด หนูอิ่ม
dc.date.accessioned2023-12-16T06:31:30Z
dc.date.available2023-12-16T06:31:30Z
dc.date.issued2015
dc.date.issuedBE2558
dc.description.abstractการเรียนรู้จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์รูปแบบ แนวทาง เนื้อหา แนวคิดและปรัชญาพื้นฐานในการสร้างกระบวนการเรียนรู้จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา และเพื่อพัฒนาชุดการเรียนรู้การฝึกอบรมจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ด้วยการวิจัยจากเอกสารการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม ผลการศึกษา พบว่าแนวคิดพื้นฐานเรื่องการสร้างจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม คือ เชื่อมั่นในศักยภาพของความเป็นมนุษย์มีหลักธรรมพื้นฐาน เรื่องศีล เพื่อก่อให้เกิดความเมตตาและความรัก การพิจารณาด้วยใจอย่างใคร่ครวญ การมองสรรพสิ่งด้วยใจที่เปิดกว้าง และเห็นคุณค่าของสรรพสิ่ง สำหรับการพัฒนาชุดการเรียนรู้การฝึกอบรมจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา โดยใช้กระบวนการจิตตปัญญาศึกษา ได้กำหนดกระบวนการเรียนรู้ไว้ 3 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 คือ การตรวจสอบให้ได้ว่าสิ่งใดที่เป็นการเบียดเบียนไม่ว่าต่อตนเอง ต่อผู้อื่น หรือต่อสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว ให้ละลงเสีย โดยกำหนดชุดการเรียนรู้ค้นหาโลกภายใน ขั้นที่ 2 คือ การสร้างระบบการศึกษาที่ทำให้คนมีความสุขจากการที่ได้ให้ ได้รัก ได้เมตตา โดยกำหนดชุดการเรียนรู้ก่อเกิดโลกใบใหม่ขั้นที่ 3 คือ การเฝ้ามองตามความเป็นจริง นั่นคือ การสร้างปัญญาให้เกิดขึ้น โดยกำหนดชุดการเรียนรู้หนึ่งเดียวกับจักรวาล
dc.description.abstractLearning Environmental Awareness based on Buddhist Philosophyaimed at analyzing the format, subject matter and fundamental philosophy.The learning process will be instilled as well as develop the training ofenvironmental awareness education by using contemplative education.This is a qualitative research from study documents, in-depth interview and focus group discussion.The findings indicated that the fundamental ideaof creating environmental awareness is the belief in human potentiality.To seek knowledge, it is to start with own experiences, and ones shouldstick to fundamental of dhamma: precepts for mercy and love. Cogitation,openness, and appreciation are needed as well. Environmental Awareness Development through Buddhist Philosophy Learning Kit, according withcontemplative practices, sets 3 steps of learning process. The first step is torealize and abstain from any harm to others and surroundings. In this step,the kit is designed to educate to search for internal world. The second stepis to build an educational system that brings merciful givers happiness, thatis, it is an educational system that builds up love and mercy. In this step,the kit is designed to create a new world. The third is to observe truth, meaning that to initiate wisdom by stipulating the learning unit united with universe.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/4358
dc.language.isoth
dc.subjectจิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อม
dc.subjectพุทธปรัชญา
dc.subjectจิตตปัญญาศึกษา
dc.subjectEnvironmental Awareness
dc.subjectBuddhist Philosophy
dc.subjectContemplative Education
dc.subject.isced0223 ปรัชญาและจริยธรรม
dc.subject.oecd6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา
dc.titleการเรียนรู้จิตสำนึกด้านสิ่งแวดล้อมตามแนวพุทธปรัชญา
dc.title.alternativeLearning Environmental Awareness based on Buddhist Philosophyen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID646
harrt.researchAreaปรัชญาพุทธเถรวาท
harrt.researchGroupปรัชญา
harrt.researchTheme.1จริยศาสตร์
harrt.researchTheme.2ปรัชญาสิ่งแวดล้อม
mods.location.urlhttps://so06.tci-thaijo.org/index.php/husojournal/article/view/55997
oaire.citation.endPage83
oaire.citation.issue43
oaire.citation.startPage61
oaire.citation.titleวารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา
oaire.citation.titleAcademic Journal of Humanities and Social Sciences Burapha University en
oaire.citation.volume23
Files