Publication: จาก “พิธีกรรม” สู่ “วันหยุดราชการ” จุดกำเนิดวันสำคัญแห่งชาติของรัฐไทย
dc.contributor.author | ชนาวุธ บริรักษ์ | |
dc.contributor.author | Chanawut Boriruk | en |
dc.contributor.editor | คุณัชญ์ สมชนะกิจ | |
dc.contributor.editor | Kunaj Somchanakit | en |
dc.coverage.temporal | 1885-1933 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:13:00Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:13:00Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | บทความนี้ต้องการศึกษาจุดกําาเนิดของ “วันสําาคัญแห่งชาติ” ของรัฐไทย โดยใช้ความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจและสังคมในช่วงหลังการทําาสนธิสัญญาเบาว์ริง มาเป็นจุดเริ่มต้นของการสืบหาร่องรอยของการเกิดขึ้นของวันสําาคัญแห่งชาติ และพบว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ได้ส่งผลอย่างสําาคัญต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยีในการนับ “วัน” ของรัฐไทย คือการเปลี่ยนไปใช้การนับวันตามแนวทางของปฏิทินสุริยคติ ส่งผลให้รัฐสามารถที่จะผนวกพลเมืองให้เข้ามาอยู่ภายใต้ “วัน” เดียวกันได้ ในความหมายของการที่พลเมืองนั้นจะสามารถรับรู้ถึงวันอย่างเป็นสาธารณะอย่างเสมอกันทุกคนและมีลักษณะที่จะเคลื่อนผ่านไปในแต่ละปีแบบเป็นกลไกอย่างแม่นยําา ซึ่งพบว่าการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวนี้ได้ส่งผลให้ “สําานึกวันนี้ในอดีต” มีการขยายตัวมากยิ่งขึ้นทั้งที่เป็นสําานึกต่อรัฐและของบุคคล อย่างไรก็ตามรัฐได้เข้ามาทําาการกําาหนดทิศทางของสําานึกดังกล่าวนี้ด้วยการเคลื่อนย้ายพิธีกรรมที่เคยจรรโลงความสัมพันธ์เชิงอําานาจของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ที่เคยได้อิงอยู่กับปฏิทินแบบเก่าที่เริ่มไม่สัมพันธ์กับผู้คนในสังคมในสภาวะสมัยใหม่ให้เข้ามาสู่ปฏิทินแบบใหม่ในรูปแบบของการเป็น “วันหยุดราชการ” อันเป็นวันสําาคัญแห่งชาติประเภทแรกของรัฐไทยเพื่อผนวกสร้าง “สําานึกความทรงจําาบนหน้าปฏิทิน” ของพลเมือง แต่ในขณะเดียวกันก็พบว่าการสร้างระบบวันหยุดราชการของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ซึ่งถือเป็นระยะเริ่มแรกของวันหยุดราชการนั้นยังไม่มีความลงตัวจึงทําาให้ไม่สามารถที่จะสร้างสําานึกความทรงจําาบนหน้าปฏิทินให้กับพลเมืองได้อย่างมีประสิทธิภาพ | |
dc.description.abstract | This article discusses the origins of Thai state’s “National Commemoration Days” by using socio-economic changes of the post-Bowring Treaty as a turning point to trace the birth of the National Commemoration Days. This change made a significant impact on date reckoning technology of the Thai state as it introduced the Solar calendar concept. As a result, the state can integrate citizens into a same temporal space i.e. “same day” in the sense that the citizens would be able to perceive the day publicly and passed each year as precise mechanism. This change led to the “Realization of Today in the past” which increasingly expanded and internalized in both state and individual levels. However, it was state who come to define the direction of this realization by transferring the rituals that once underpinned the structure of power relations defined by the Absolute monarchy. These rituals were included in the old calendar system, which became irrelevant to the society in modern times. Thus, they need to be transferred into the new calendar system in the form of “Public Holidays” which are the first kind of National Commemoration Days. This process facilitated the “Realization of National Memory” through calendar”. However, the creation of “Public Holidays” by the absolute monarchy state in the first phase was not successful as it was expected since the process could not led to the effective “Realization of National Memory” through calendar”. | en |
dc.identifier.issn | 2672-9660 | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/7682 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ | |
dc.subject | ปฏิทิน | |
dc.subject | วันหยุดราชการ | |
dc.subject | วันสําาคัญแห่งชาติ | |
dc.subject | Calendar | |
dc.subject | Public Holiday | |
dc.subject | National Commemoration Days | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | จาก “พิธีกรรม” สู่ “วันหยุดราชการ” จุดกำเนิดวันสำคัญแห่งชาติของรัฐไทย | |
dc.title.alternative | From "Ritual" to "Public Holiday" The Origins of the " National Commemoration Days " of Thai State | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 616 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์การเมือง | |
mods.location.url | https://so02.tci-thaijo.org/index.php/HUSOTSU/article/view/154086/112151 | |
oaire.citation.endPage | 248 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 209 | |
oaire.citation.title | วารสารอินทนิลทักษิณสาร | |
oaire.citation.title | Inthaninthaksin Journal | en |
oaire.citation.volume | 13 |