Publication: คำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็กในภาษาญี่ปุ่น: วิธีการสร้างคำและภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรม
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2020
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
ภาษาและภาษาศาสตร์
Language and Linguistics
Language and Linguistics
Volume
38
Issue
2
Edition
Start Page
106
End Page
127
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
คำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็กในภาษาญี่ปุ่น: วิธีการสร้างคำและภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรม
Alternative Title(s)
Japanese Early Childhood Vocabulary: Word Formation Processes and Socio-cultural Reflections
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
งานนี้มีวัตถุประสงค์ คือ 1) วิเคราะห์วิธีการสร้างคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็กในภาษาญี่ปุ่น 2) วิเคราะห์แนวโน้มการปรากฏของวิธีการสร้างคำในแต่ละกลุ่มความหมายของคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็ก 3) วิเคราะห์ลักษณะทางสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่นที่สะท้อนจากคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็ก โดยรวบรวมคำศัพท์จากพจนานุกรมคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็กทั่วประเทศ『全国幼児語辞典』(Zenkoku youjigo jiten) ของ Tomosada (1997) จำนวน 281 คำ ซึ่งแบ่งได้ 22 กลุ่มความหมาย แล้วนำมาวิเคราะห์วิธีการสร้างคำ แนวโน้มการปรากฏของวิธีการสร้างคำในแต่ละกลุ่มความหมาย และภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรมญี่ปุ่น ผลการวิจัยพบวิธีการสร้างคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็ก 7 รูปแบบจากมากไปน้อย ได้แก่ การซ้ำ การเลียนเสียง การเปลี่ยนแปลงทางเสียง การเติม (เปลี่ยน/ตัด) หน่วยคำเติม การเปลี่ยนชนิดคำ การประสมคำ และการยืม ตามลำดับ ผลการศึกษายังแสดง ให้เห็นวิธีการสร้างคำเด่น ๆ ที่พบในแต่ละกลุ่มความหมาย สำหรับผลการศึกษาภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรม พบว่าชาวญี่ปุ่นใช้คำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็ก โดยมุ่งเน้นความเข้าใจของเด็กและความง่ายในการสื่อสารเป็นหลัก นอกจากนี้ยังพบการปลูกฝังให้เด็กญี่ปุ่นรู้จักให้เกียรติและแสดงความสุภาพต่อสิ่งรอบตัวที่ไม่ใช่มนุษย์ การมองสิ่งที่ไม่ใช่มนุษย์ให้มีความเป็นมนุษย์ การมองสิ่งที่เกี่ยวข้องกับเด็กว่ามีลักษณะเล็กซึ่งสื่อถึงความน่ารัก ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับสมาชิกในครอบครัวที่เน้นความสนิทสนมและสื่อถึงความเป็นพวกเดียวกันกับเด็ก อีกทั้งยังพบวัฒนธรรมญี่ปุ่นในด้านต่าง ๆ ที่สะท้อนจากคำศัพท์เฉพาะสำหรับเด็กแต่ละคำอีกด้วย เช่น อาหาร เครื่องแต่งกาย ของเล่น เป็นต้น