Publication: อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” มุมมองทางปริชาน
dc.contributor.author | Yao, Siqi | |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T14:28:35Z | |
dc.date.available | 2023-12-15T14:28:35Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | “ความฝันจีน” เป็นประเด็นที่ถูกกล่าวถึงในประเทศจีนอย่างกว้างขวาง และยังได้รับความสนใจจากชาวต่างชาติด้วย บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษาอุปลักษณ์สงครามกับ “ความฝันจีน” ตามแนวคิดทฤษฎีอุปลักษณ์มโนทัศน์ โดยพิจารณาจากรูปภาษาแสดงอุปลักษณ์สงครามที่ปรากฏในวาทกรรมการเมืองจากการกล่าวสุนทรพจน์ของประธานาธิบดีจีนสีจิ้นผิง พร้อมทั้งวิเคราะห์ผู้ใช้ภาษาอธิบายแนวคิด “ความฝันจีน” ซึ่งเป็นมโนทัศน์เชิงนามธรรมโดยอาศัยการใช้อุปลักษณ์สงครามอย่างไร ผลการศึกษาไม่เพียงแต่แสดงให้เห็นถึงการใช้อุปลักษณ์สงครามเป็นเครื่องมือที่ช่วยอธิบายแนวคิด “ความฝันจีน” ได้อย่างเป็นรูปธรรม โดยมีการถ่ายโยงความสัมพันธ์ทางความหมายจากมโนทัศน์ต้นทาง “สงคราม” ไปยังมโนทัศน์ปลายทาง “ความฝันจีน” ขณะเดียวกันยังสะท้อนถึงจิตวิญญาณแห่งชนชาติจีนที่ขยันหมั่นเพียร กล้าหาญ และมุมานะบากบั่น ซึ่งได้รับอิทธิพลทั้งจากลัทธิชาตินิยมที่มีมาอย่างยาวนานและประวัติศาสตร์อันลึกซึ้ง รวมทั้งจากแนวคิดการปฏิรูปการสร้างสรรค์นวัตกรรมที่ทันยุคสมัย นอกจากนี้ การใช้อุปลักษณ์สงครามในการกล่าวถึง “ความฝันจีน” ยังเป็นกลวิธีที่มีประสิทธิภาพในการถ่ายทอดความคิดและสื่อถึงอุดมการณ์ของผู้ใช้ภาษาอีกด้วย ซึ่งสามารถกระตุ้นการสำนึกรับผิดชอบของเยาวชนในประวัติศาสตร์ชาติจีน แนะนำเยาวชนให้มีมุมมองของโลกที่ถูกต้องและเข้าใจในค่านิยมแห่งชีวิต ส่งเสริมให้ประชาชนกระตือรือร้นที่จะมีส่วนร่วมในการสร้างความฝันจีนในทางปฏิบัติให้เกิดขึ้น รวมทั้งกระตุ้นให้มีความหลงใหลในความฝันจีนเพื่อให้ความฝันจีนฝังลึกลงไปในใจของเยาวชน และช่วยกันทำงานสำคัญเพื่อเตรียมพร้อมร่วมกันผลักดันการเติบโตครั้งยิ่งใหญ่ของประเทศจีน | |
dc.description.abstract | “Chinese Dream” has recevied wide attention from both domestic and abroad. This paper mainly focuses on studying war metaphor in the political discourse about “Chinese Dream”, primarily based on the theoretical framework of conceptual metaphor. Metaphorical linguistic descriptions of war appearing in the important speeches of Xi Jinping were analysed as explanations of the abstract concept of Chinese Dream. Results were that war metaphors, based on direct physical knowledge of conflict, made abstract characteristics of “Chinese Dream” more concrete and comprehensible for listeners. The features of source domain “war” were mapped into target domain “Chinese Dream” because of the existence of characteristic similarities between the two concepts, reflecting the Chinese spirit of diligence, courage and perseverance. It ought to be influenced by both longstanding patriotic traditions and in-depth historical background combined with progressive mordern ideas for reform and innovation. Using war-related metaphorical phrases to refer to "Chinese Dream” effectively communicated ideology, awakening a sense of responsibility, history, conduct, outlook, and values among young Chinese people. These listeners were actively encouraged to help create a Chinese dream in reality. It further inspired young people to realize the youth passion of the Chinese dream, make the Chinese dream deeply rooted in the minds of young people, be preparated to realize the great rejuvenation of the Chinese nation. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/3780 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | ความฝันจีน | |
dc.subject | อุปลักษณ์สงคราม | |
dc.subject | ระบบมโนทัศน์ | |
dc.subject | ประวัติศาสตร์ | |
dc.subject | สังคมและวัฒนธรรม | |
dc.subject | Chinese Dream | |
dc.subject | War Metaphors | |
dc.subject | Conceptual System | |
dc.subject | History | |
dc.subject | Culture And Society | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | อุปลักษณ์สงครามสู่ “ความฝันจีน” มุมมองทางปริชาน | |
dc.title.alternative | From War Metaphors towards “CHINESE DREAM” : A Cognitive Perspective | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 264 | |
harrt.researchArea | ภาษาศาสตร์ภาษาจีน | |
harrt.researchGroup | ภาษาจีน | |
harrt.researchTheme.1 | ภาษากับปริชาน | |
harrt.researchTheme.2 | ภาษากับวัฒนธรรม (Language and culture) | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/JHUMANS/article/view/163217 | |
oaire.citation.endPage | 101 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 71 | |
oaire.citation.title | มนุษยศาสตร์สาร | |
oaire.citation.title | Journal of Human Sciences | en |
oaire.citation.volume | 19 |