Publication:
การใช้คำเรียกขานภาษาไทยและภาษาจีนในสมัยปัจจุบัน : การศึกษาเปรียบเทียบ

dc.contributor.authorเมชฌ สอดส่องกฤษ
dc.date.accessioned2023-12-15T14:25:28Z
dc.date.available2023-12-15T14:25:28Z
dc.date.issued2007
dc.date.issuedBE2550
dc.description.abstractงานวิจัยเปรียบเทียบการใช้คำเรียกขานภาษาไทยและภาษาจีนในสมัยปัจจุบันนี้มีเนื้อหาหลักประกอบด้วย คำเรียกญาติ คำเรียกขานทางสังคม การวิเคราะห์คำที่ใช้เป็นคำเรียกขาน และปัจจัยสำคัญในการเลือกใช้คำเรียกขาน งานวิจัยครั้งนี้เป็นประโยชน์โดยตรงต่อผู้ศึกษาภาษาไทยและภาษาจีน โดยเฉพาะผู้ทำงานเกี่ยวกับการแปลภาษาไทยและภาษาจีน เพราะการแปลจากภาษาหนึ่งไปเป็นอีกภาษาหนึ่งมิใช่เพียงแค่หาคำที่มีความหมายอย่างเดียวกันเท่านั้น แต่เบื้องหลังทางวัฒนธรรมตลอดจนความเป็นเชื้อชาติของแต่ละชนชาติมีผลอย่างมากในการเลือกใช้ภาษาด้วย โดยเฉพาะอย่างยิ่งคำเรียกขานมีความสัมพันธ์กับคนในสังคมโดยตรง การเลือกใช้หรือการแปลคำเรียกขานจึงไม่เพียงแต่เป็นการเลือกใช้คำที่มีความหมายอย่างเดียวกันเท่านั้น แต่จำเป็นต้องพิจารณาหรือคำนึงถึงปัจจัยต่างๆ ทางสังคม เช่น ภูมิหลังทางวัฒนธรรม เชื้อชาติ ความเชื่อ การเมืองการปกครอง ศาสนา เป็นต้น เพื่อจำสามารถเลือกใช้ได้อย่างถูกต้อง ผลการวิจัยพบว่าการเลือกใช้คำเรียกขานในภาษาไทย และภาษาจีนมีความคล้ายคลึงกับภาษาอื่นๆ ในภูมิภาคเอเชียอาคเนย์ เช่น ภาษาเวียดนาม ภาษาลาว ภาษาเขมร ภาษาพม่า เป็นต้น กล่าวคือ คำที่ใช้เป็นคำเรียกขานที่สำคัญ ได้แก่ ชื่อ คำเรียกญาติและคำสรรพนาม ส่วนปัจจัยกำหนดการเลือกใช้คำเรียกขานที่สำคัญคือ เพศ อายุ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ฐานะ และสถานภาพทางสังคม
dc.description.abstractA comparative study of address terms in Chinese and Thai language systems consists of kinship terms, social addressing terms along with the use of address terms, and the factors influencing the use of address terms. The outcome of this research will not only be useful for people who are interested in Thai-Chinese language studies but also for Chinese-Thai or Thai-Chinese translators who are in need of clear translation of meanings and a general background of language, culture, belief, politics, and religion. In our conclusion, we found that sex, age and relationship are the three main factors that influence both Thai and Chinese addressing terms. Moreover, the address terms for groups of kinship, with their respective pronouns, share the same natural characteristics as other languages in Southeast Asia, for example Vietnamese, Laos, Cambodian, Burmese.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3564
dc.language.isoth
dc.subjectคำเรียกขาน
dc.subjectภาษาศาสตร์สังคม
dc.subjectภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ
dc.subjectภาษาไทยและภาษาจีน
dc.subjectAddress Terms
dc.subjectSociolinguistics
dc.subjectComparative Linguistics
dc.subjectThai And Chinese
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการใช้คำเรียกขานภาษาไทยและภาษาจีนในสมัยปัจจุบัน : การศึกษาเปรียบเทียบ
dc.title.alternativeThe Use of address terms in modern Thai and Chinese language : A Comparative Studyen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID364
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ภาษาจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1หน่วยคำวิทยา (Morphology)
harrt.researchTheme.2ภาษากับสังคม (Language and Society)
oaire.citation.endPage61
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage41
oaire.citation.titleวารสารวิชาการคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
oaire.citation.volume3
Files