Publication: สุนทรียศาสตร์ในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่น
dc.contributor.author | นับทอง ทองใบ | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T06:33:36Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T06:33:36Z | |
dc.date.issued | 2016 | |
dc.date.issuedBE | 2559 | |
dc.description.abstract | บทความเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการวิเคราะห์สื่อหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นด้วยกรอบแนวคิดด้านสุนทรียศาสตร์ โดยสุนทรียะในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นเกิดจากการค้นหาความแปลกใหม่ ความโดดเด่นไปจากความเคยชินของผู้อ่าน โดยครอบคุลม 2 มิติหลัก คือ (1) มิติด้านรูปแบบการสื่อสารเฉพาะตัวของหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่น ซึ่งประกอบด้วย ช่องการ์ตูน ช่องคำพูด ขนาดภาพ มุมมองภาพ ความเคลื่อนไหวของภาพ การตัดต่อภาพ และการจัดวางฉาก (2) มิติด้านเนื้อหาซึ่งพิจารณาตามองค์ประกอบของการเล่าเรื่อง โดยเฉพาะการสร้างบุคลิกลักษณะตัวละคร ซึ่งการนำเสนอด้านสุนทรียะในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่นก็เพื่อปลุกเร้าให้ทั้งผู้สร้าง ผู้อ่าน และนักวิชาการได้ทำความเข้าใจ และหันมาสนใจศึกษาหนังสือการ์ตูนในแง่มุมเชิงสุนทรียศาสตร์ เพราะประสบการณ์เชิงสุนทรียะจะช่วยสร้างความประทับใจแก่ผู้อ่านได้ยาวนาน อันจะช่วยกระตุ้นให้เกิดวัฒนธรรมรักการอ่านอย่างยั่งยืน | |
dc.description.abstract | The objective of this article is to present an analysis approach of Japanese comic in aesthetically conceptual framework. The aesthetics in Japanese comic is derived from the search for novelty which is distinct from what the readers are familiar with. This will be covered in 2 main dimensions which are (1) the dimension of specific communication pattern in Japanese comic including the comic frame, the speech balloon, the picture size, the picture view, the movement, the picture editing, and the setting | en |
dc.description.abstract | and (2) the dimension of contents which can be considered according to components of narration, especially the creation of comic characters. The presentation of aesthetics in Japanese comic is to encourage the creators, readers and academicians to try to understand and study the aesthetical aspect of the comic. This is because the aesthetic experience will facilitate deep and sustainable impression in the readers and also motivate the sustainable reading culture. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4505 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | การ์ตูนญี่ปุ่น | |
dc.subject | สุนทรียศาสตร์ | |
dc.subject | การสร้างบุคลิกลักษณะตัวละคร | |
dc.subject | การเล่าเรื่อง | |
dc.subject | Japanese Comic | |
dc.subject | Aesthetics | |
dc.subject | Creation Of Characters | |
dc.subject | Narration | |
dc.subject.isced | 0223 ปรัชญาและจริยธรรม | |
dc.subject.oecd | 6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา | |
dc.title | สุนทรียศาสตร์ในหนังสือการ์ตูนญี่ปุ่น | |
dc.title.alternative | Aesthetics in Japanese Comic | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 665 | |
harrt.researchArea | ปรัชญา - อื่นๆ | |
harrt.researchGroup | ปรัชญา | |
harrt.researchTheme.1 | สุนทรียศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.2 | ปรัชญาประยุกต์ | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/spurhs/article/view/114694 | |
oaire.citation.endPage | 137 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 129 | |
oaire.citation.title | วารสารศรีปทุมปริทัศน์ ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ | |
oaire.citation.title | Sripatum Review of Humanities and Social Sciences | en |
oaire.citation.volume | 16 |