Publication:
หน้าที่ของฤดูกาลในวรรณกรรมเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริ

dc.contributor.authorอรรถยา สุวรรณระดา
dc.coverage.temporal1008-1008
dc.date.accessioned2023-12-15T10:27:23Z
dc.date.available2023-12-15T10:27:23Z
dc.date.issued2006
dc.date.issuedBE2549
dc.description.abstractวรรณกรรมเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริ เป็นวรรณกรรมชิ้นเอกของญี่ปุ่น แต่งขึ้นเมื่อประมาณค.ศ.1001 เป็นนิยายรักเรื่องยาว กล่าวถึงเรื่องราวในช่วงชีวิต 70 ปี ของฮิกะรุเก็นจิซึ่งมีความสัมพันธ์กับผู้หญิงหลายคน บทความวิจัยนี้ศึกษาถึงหน้าที่ของฤดูกาลต่างๆในเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริ โดยรวบรวมข้อมูลจากตัวเรื่องและสังเกตดูว่ามีเหตุการณ์ใดเกิดขึ้นในฤดูกาลใดบ้าง แล้วนำข้อมูลมาวิเคราะห์สรุปหาความสัมพันธ์ต่างๆ จากการศึกษาพบว่าผู้เขียนได้ใช้ฤดูกาลช่วยเน้นภาพลักษณ์ของตัวละครต่างๆ ในเรื่อง เช่น ฤดูใบไม้ผลิใช้เน้นภาพลักษณ์ตัวละครหญิงที่เป็นตัวเอกและมีบทบาทสำคัญในเรื่อง เป็นต้น อีกทั้งผู้เขียนยังใช้ฤดูกาลและสิ่งของที่มีอยู่ในฤดูกาลนั้นๆ เป็นสัญลักษณ์แสดงถึงสิ่งที่เป็นนามธรรมด้วย เช่น ฤดูใบไม้ร่วงเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความเป็นอนิจจังของชีวิต หรือหิมะในฤดูหนาวเป็นสัญลักษณ์แสดงถึงความรักอันยบริสุทธิ์ของแม่ที่มีต่อลูก นอกจากนี้ สภาพอากาศของฤดูกาลต่างๆยังช่วยเสริมเน้นบรรยากาศของฉากสำคัญๆในเรื่องทำให้ผู้อ่านรู้สึกตื่นเต้นและมีอารมณ์ร่วมไปกับตัวละครในฉากนั้นๆด้วย
dc.description.abstractGenjimonogatari is a Japanese masterpiece written circa 1001. It is a long novel about a character called Hikaru Genki who in the course of his lifetime (70 years) has numerous love affairs with many women. The aim of this research is to study the role of the seasons in Genjimonogatari. The research finds that in the story, the author utilizes the seasons to emphasize the character's image. For example, spring is used to highlight the image of the heroine who has an important role in the story. Futhermore, the author uses the season and what happens in that season to convey abstract ideas. For instance, autumn becomes a symbol of life's uncertainty or snow in the winter functions as s symbol of a mother's pure love toward her child. Apart from that, the weather conditions of each season help enhance the ambience of important scenes in order to make the reader excited and share the same feelings as the characters in those scenes.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3132
dc.language.isoth
dc.subjectN/A
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleหน้าที่ของฤดูกาลในวรรณกรรมเรื่อง เก็นจิโมะโนะงะตะริ
dc.title.alternativeRole of the Seasons in Genjimonogatarien
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID581
harrt.researchAreaวรรณกรรม/วรรณคดีญี่ปุ่น
harrt.researchGroupภาษาญี่ปุ่น
harrt.researchTheme.1การวิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี
mods.location.urln/a
oaire.citation.endPage216
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage193
oaire.citation.titleวารสารอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
oaire.citation.titleJournal of Letter Chulalongkorn Universityen
oaire.citation.volume35
Files