Publication:
การแปลคำบุรุษสรรพนามในวรรณกรรมญี่ปุ่นแปลไทย

dc.contributor.authorสุวัธน์ เรืองศรี
dc.date.accessioned2023-12-15T10:17:46Z
dc.date.available2023-12-15T10:17:46Z
dc.date.issued2018
dc.date.issuedBE2561
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษากลวิธีการแปลคำบุรุษสรรพนามในวรรณกรรมที่แปลจากภาษาญี่ปุ่นเป็นภาษาไทย โดยมุ่งวิเคราะห์ จาก 4 ปัจจัย ได้แก่ ปัจจัยด้านเพศของผู้พูด ปัจจัยด้านอายุ ปัจจัยด้านสถานภาพ และปัจจัยด้านความสนิทสนมระหว่าง ผู้พูดและผู้ฟัง ข้อมูลที่ใช้ในการวิเคราะห์คือเรื่องเมียชายชั่ว รถไฟสายทางช้างเผือก โต๊ะโตะจังเด็กหญิงข้างหน้าต่าง กระต่าย- แก้ว และโคะโคะโระ รวมทั้งหมด 5 เล่ม โดยวิเคราะห์เปรียบเทียบกับต้นฉบับภาษาญี่ปุ่น ผลการวิจัยพบกลวิธีการแปล คำบุรุษสรรพนาม 2 ประเภท คือ 1.กลวิธีการแปลคำบุรุษสรรพนามด้วยคำบุรุษสรรพนามซึ่งพบใช้มากที่สุด 2.กลวิธีการแปล คำบุรุษสรรพนามด้วยคำนาม ได้แก่ 1) คำเรียกเครือญาติ 2) คำเรียกเสมือนเครือญาติ และ3) คำเรียกอาชีพ
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/2585
dc.language.isoth
dc.subjectการแปล
dc.subjectบุรุษสรรพนาม
dc.subjectวรรณกรรม;ภาษาญี่ปุ่น
dc.subjectภาษาไทย
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการแปลคำบุรุษสรรพนามในวรรณกรรมญี่ปุ่นแปลไทย
dc.title.alternativeTranslation of Personal Reference Terms in Japanese Novels Translated into Thaien
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID131
harrt.researchAreaการแปลภาษาญี่ปุ่น
harrt.researchGroupภาษาญี่ปุ่น
harrt.researchTheme.1หน่วยคำวิทยา (Morphology)
harrt.researchTheme.2ระดับคำ
mods.location.urlhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jsn/article/view/158795/118666
oaire.citation.endPage130
oaire.citation.issueพิเศษ
oaire.citation.startPage116
oaire.citation.titleวารสารเครือข่ายญี่ปุ่นศึกษา
oaire.citation.titleJSN Journalen
oaire.citation.volume8
Files