Publication: An Ecocritical Reading of Hayao Miyazaki's Nausicca of the Valley of the Wind: Territory, Toxicity,and Animals
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2017
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Liberal Art Thammasat University
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Volume
17
Issue
1
Edition
Start Page
119
End Page
145
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
An Ecocritical Reading of Hayao Miyazaki's Nausicca of the Valley of the Wind: Territory, Toxicity,and Animals
Alternative Title(s)
บทศึกษาภาพยนตร์อนิเมชันเรื่อง มหาสงครามหุบเขาแห่งสายลม ของฮะยะโอะ มิยะซะกิ ผ่านมุมมองนิเวศวิจารณ์ ว่าด้วยเรื่องอาณาเขต สารพิษ และสัตว์
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
Nausicaa of the Valley of the Wind (1984) is an animation written and directed by Hayao Miyazaki. Set in the future a thousand years from now, the story deals with the struggle of a princess of the Valley of the Wind to maintain the peace and livelihood of herhomeland against the invading nation Torumekia snd the expansion of the lethal Toxic Jungle.Yet beyond the fantastic encounters with giant insects in the Jungle and an adventure in a glider and fighter aircraft there are profound ecological messages that expose the vulnerablility of the natural world as much as of its human habitats. This article srrutinizes the film with respect to the four main areas central to ecocritics' concerns: (1) the concept of landscape, involving the depiction of pastoralism, and sublime spaces and their implications; (2) the question of land entitlement; (3) toxicity and toxic Discourse; (4) animals, especially insects,as these species are threatened by toxicity through insecticides. The article both engages with and relies on several fundamental sources in environemental criticism, most notably Rachel Carson's Silent Spring (1962), Lawrence Buell's "Toxic Discourse" (1998), and Gregg Garrard's Ecocriticism (2012). Before closing, the article attempts to critique the film as a quintessential ecological masterpiece and explains how this fictional anime could be extremely relevant to the current global environmental crisis even though three decades have elapsed since its production and its first screening.
มหาสงครามหุบเขาแห่งสายลม (2527) เป็นภาพยนตร์อนิเมชันที่เขียนและกำกับโดย ฮะยะโอะ มิยะซะกิ เกี่ยวกับโลกหลายพันปีในอนาคต เป็นเรื่องเกี่ยวกับเจ้าหญิงนอซึกะแห่งอาณาจักรหุบเขาแห่งสายลมซึ่งดำรงอยู่อย่างสงบสุขและอุดมสมบูรณ์มาตลอด แต่กำลังถูกคุกคามจากอาณาจักรใกล้เคียง คือ โทรุเมเคีย (Torumekia) ซึ่งมีความพร้อมด้านการรบพุ่งและต้องการขยายอาณาเขต อีกทั้งยังถูกคุกคามจากป่าแห่งสารพิษ (Toxic Jungle) ซึ่งเต็มไปด้วยสายพันธุ์พืชและแมลงอันเป็นพิษต่อมนุษย์ เบื้องหลังเรื่องราวการผจญภัยอันน่าตื่นตาตื่นใจ การเผชิญหน้ากับแมลงยักษ์และการเหินเวหาบนเครื่องร่อนและยานบิน ภาพยนตร์เรื่องนี้สอดแทรกข้อคิดเชิงนิเวศวิทยาที่เผยให้เห็นความเปราะบางของทั้งโลกธรรมชาติและถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ บทความนี้วิเคราะห์ภาพยนตร์อนิเมชั่นนี้ในสี่ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวรรณกรรมเชิงนิเวศและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (1) แนวคิดเรื่องภูมิประเทศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับขนบการบรรยายท้องทุ่ง (pastoralism) พื้นที่รกร้าง (wilderness) พื้นที่สูงส่งหรือเลอเลิศ (sublime) และนัยของพื้นที่เหล่านั้น (2) คำถามเรื่องสิทธิ์การถือครองที่ดิน (3) สารพิษและวาทกรรมสารพิษ (4) สัตว์ โดยเฉพาะแมลงซึ่งเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับสารพิษผ่านย่าฆ่าแมลง บทความนี้อ้างถึงและพยายามสานต่อการศึกษาชิ้นสำคัญในสาขานิเวศวิจารณ์หลายชิ้น โดยเฉพาะ Silent Spring ของเรเชล คาร์สัน(2505) "Toxic Discourse" ของลอเรนซ์ บิวเอลล์ (2541) และ Ecocriticism ของเกร็ก การ์ราร์ด (2555) ในตอนท้ายบทความนี้ยังวิพากษ์ภาพยนตร์เรื่องนี้ในฐานะภาพยนตร์ชิ้นเอกที่ชูประเด็นสิ่งแวดล้อม และพยายามอธิบายว่าอนิเมชั่นที่เป็นเพียงเรื่องแต่งและได้รับการฉายครั้งแรกตั้งแต่กว่าสามทศวรรษที่แล้วนี้มีความเชื่อมโยงต่อวิกฤติสิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบันอย่างยิ่งยวดเพียงใด
มหาสงครามหุบเขาแห่งสายลม (2527) เป็นภาพยนตร์อนิเมชันที่เขียนและกำกับโดย ฮะยะโอะ มิยะซะกิ เกี่ยวกับโลกหลายพันปีในอนาคต เป็นเรื่องเกี่ยวกับเจ้าหญิงนอซึกะแห่งอาณาจักรหุบเขาแห่งสายลมซึ่งดำรงอยู่อย่างสงบสุขและอุดมสมบูรณ์มาตลอด แต่กำลังถูกคุกคามจากอาณาจักรใกล้เคียง คือ โทรุเมเคีย (Torumekia) ซึ่งมีความพร้อมด้านการรบพุ่งและต้องการขยายอาณาเขต อีกทั้งยังถูกคุกคามจากป่าแห่งสารพิษ (Toxic Jungle) ซึ่งเต็มไปด้วยสายพันธุ์พืชและแมลงอันเป็นพิษต่อมนุษย์ เบื้องหลังเรื่องราวการผจญภัยอันน่าตื่นตาตื่นใจ การเผชิญหน้ากับแมลงยักษ์และการเหินเวหาบนเครื่องร่อนและยานบิน ภาพยนตร์เรื่องนี้สอดแทรกข้อคิดเชิงนิเวศวิทยาที่เผยให้เห็นความเปราะบางของทั้งโลกธรรมชาติและถิ่นที่อยู่ของมนุษย์ บทความนี้วิเคราะห์ภาพยนตร์อนิเมชั่นนี้ในสี่ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับการศึกษาวรรณกรรมเชิงนิเวศและสิ่งแวดล้อม ได้แก่ (1) แนวคิดเรื่องภูมิประเทศ ซึ่งเกี่ยวข้องกับขนบการบรรยายท้องทุ่ง (pastoralism) พื้นที่รกร้าง (wilderness) พื้นที่สูงส่งหรือเลอเลิศ (sublime) และนัยของพื้นที่เหล่านั้น (2) คำถามเรื่องสิทธิ์การถือครองที่ดิน (3) สารพิษและวาทกรรมสารพิษ (4) สัตว์ โดยเฉพาะแมลงซึ่งเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับสารพิษผ่านย่าฆ่าแมลง บทความนี้อ้างถึงและพยายามสานต่อการศึกษาชิ้นสำคัญในสาขานิเวศวิจารณ์หลายชิ้น โดยเฉพาะ Silent Spring ของเรเชล คาร์สัน(2505) "Toxic Discourse" ของลอเรนซ์ บิวเอลล์ (2541) และ Ecocriticism ของเกร็ก การ์ราร์ด (2555) ในตอนท้ายบทความนี้ยังวิพากษ์ภาพยนตร์เรื่องนี้ในฐานะภาพยนตร์ชิ้นเอกที่ชูประเด็นสิ่งแวดล้อม และพยายามอธิบายว่าอนิเมชั่นที่เป็นเพียงเรื่องแต่งและได้รับการฉายครั้งแรกตั้งแต่กว่าสามทศวรรษที่แล้วนี้มีความเชื่อมโยงต่อวิกฤติสิ่งแวดล้อมในโลกปัจจุบันอย่างยิ่งยวดเพียงใด