Publication:
การศึกษาและออกแบบกระบวนการละครสร้างสรรค์เพื่อใช้ในการสื่อสารกับนักเรียนออทิสติค: กรณีศึกษาที่สถาบันการศึกษาพิเศษ มรภ.สงขลา

dc.contributor.authorตถาตา สมพงศ์
dc.contributor.authorSompong, Tathataen
dc.date.accessioned2023-12-16T10:28:40Z
dc.date.available2023-12-16T10:28:40Z
dc.date.issued2018
dc.date.issuedBE2561
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบกระบวนการละครสร้างสรรค์สาหรับเด็กออทิสติก กรณีศึกษานักเรียนในสถาบันการศึกษาพิเศษ มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา โดยนากระบวนการที่ผู้วิจัยออกแบบมาดาเนินกิจกรรมกับนักเรียนออทิสติกจานวน 3 คน เพื่อพัฒนาด้านอารมณ์ พฤติกรรมและส่งเสริมทักษะการใช้ชีวิตประจาวันร่วมกับผู้อื่นขั้นตอนการดาเนินงานคือทาความคุ้นเคยกับเด็ก กิจกรรมหลักคือเรียนรู้จากเพลง “คนพิเศษ” โดยให้นักเรียนเลียนแบบท่าทางประกอบเพลงและทาตามโจทย์จากผู้วิจัย จนกระทั่งเป็นผู้ชมละครหุ่นเงาเรื่อง “หม้อดินใบร้าว” กระบวนการทั้งหมดเพื่อสื่อสารกับนักเรียนออทิสติกให้เล็งเห็นคุณค่าในตนเองจากความสามารถของตน ที่สามารถช่วยเหลือผู้อื่นได้ตามเนื้อเพลง เช่น การลุกขึ้นไปเปิด-ปิด ไฟ การช่วยเก็บของ เป็นต้น โดยผู้วิจัยได้ประเมินจากการสัมภาษณ์เพื่อวัดผลความเปลี่ยนแปลงในการเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนออทิสติก จากการสัมภาษณ์ครูชานาญการพิเศษ ครูพี่เลี้ยงและผู้ปกครองของนักเรียนในสถาบันการศึกษาพิเศษ 2 ครั้ง คือการสัมภาษณ์ก่อนดาเนินกิจกรรมเพื่อทราบถึงปัญหา จานวน6 ท่าน และสัมภาษณ์หลังดาเนินกิจกรรมเพื่อนามาประเมินผล จานวน 4 ท่าน ผลการประเมินทาให้ผู้วิจัยเห็นว่ากระบวนการละครสร้างสรรค์สามารถทาให้นักเรียนออทิสติกเล็งเห็นคุณค่าของตนเองที่มีต่อสังคมมากขึ้น เนื่องจากมีพัฒนาการด้านอารมณ์และพฤติกรรมที่ดีขึ้น ส่งผลให้นักเรียนออทิสติกสามารถช่วยเหลือตนเองและผู้อื่นจากความสามารถของตนได้
dc.description.abstractThe aim of this research was to study and create a Process of Creative Drama for autistic childrenat the Institute for Special Education, at Songkhla Rajabhat University. The process involved 1) workingwith three autistic children 2) to understand and develop their emotions and behavior and thus 3) toencourage the development of happy life skills with the other people. The Process of Creative Dramafocused on making the autistic children familiar with the main activity, which was to learn the desiredbehavior, from the song “Children with Special Need” by emulating the posture of the researcher.Autistic children were the audience in the shadow puppet play called “The Broken Clay Pot.” Thepurpose of the play was to get the audience to recognize their value, and their ability to help the otherssuch as helping friends to turn on/off the light, or clean up and similar acts. The researcher gainedinsights on effectiveness by interviewing specialist teachers, teachers and parents of autistic childrentwice. The first interview was conducted with six individuals before the Creative Drama Process. The second interview was conducted with four individuals after the Creative Drama Process. The assessmentshowed that the Process of Creative Drama could make autistic children recognize their value in helpingothers. It is believed this was achieved because the children improved their problems of emotional andbehavioral conduct, resulting in their ability to help others with their limited capabilitiesen
dc.identifier.issnAccession Number edsbas.CCFB81A2
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/8264
dc.language.isoth
dc.subjectละครสร้างสรรค์
dc.subjectนักเรียนนออทิสติก
dc.subjectCreative Drama
dc.subjectAutistic Students
dc.subject.isced0215 ดนตรีและศิลปะการแสดง
dc.subject.oecd6.4 ศิลปะ
dc.titleการศึกษาและออกแบบกระบวนการละครสร้างสรรค์เพื่อใช้ในการสื่อสารกับนักเรียนออทิสติค: กรณีศึกษาที่สถาบันการศึกษาพิเศษ มรภ.สงขลา
dc.title.alternativeThe Study and Creation of Creative Drama Process to communicate with Autistic Students at the Institute for Special Education Songkhla Rajabhat Universityen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID22
harrt.researchAreaศิลปการละคร
harrt.researchGroupศิลปการละคร
harrt.researchTheme.1ละครประยุกต์และการบูรณาการข้ามศาสตร์
harrt.researchTheme.2วิจัยสร้างสรรค์
mods.location.urlhttps://www.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/147371
oaire.citation.endPage59
oaire.citation.issue3
oaire.citation.startPage51
oaire.citation.titleวารสารปาริชาต
oaire.citation.titleParichart Journalen
oaire.citation.volume31
Files