Publication:
แนวคิดทางปรัชญาการศึกษาในบริบทของการศึกษาไทยระดับอุดมศึกษา

dc.contributor.authorเริงรณ ล้อมลาย
dc.contributor.authorสุการต์พิชา ปิยะธรรมวรากุล
dc.contributor.authorRoengron Lormlaien
dc.contributor.authorSukarnpicha Piyathamvarakulen
dc.date.accessioned2023-12-16T06:33:00Z
dc.date.available2023-12-16T06:33:00Z
dc.date.issued2020
dc.date.issuedBE2563
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเพื่อศึกษา เปรียบเทียบ สังเคราะห์ พัฒนา และสร้างรูปแบบ แนวคิดทางปรัชญาการศึกษาในบริบทของ การศึกษาไทยระดับอุดมศึกษา ใช้รูปแบบการวิจัยเชิงสำรวจกลุ่มตัวอย่างได้แก่ อาจารย์ผู้สอนคณะศึกษาศาสตร์และบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยรามคำแหง จำนวน 177 คน โดยเปิดตารางสำเร็จรูปของ Krejcie and Morgan แล้วสุ่มแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถาม เป็นแบบสอบถามชนิดเลือกตอบ 6 ตัวเลือก มีค่า IOC เท่ากับ 0.96 การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้การแจกแจงความถี่ หาค่าร้อยละ และทดสอบค่าไคสแควร์ ผลการวิจัยพบว่า ผลการศึกษาพบว่า โดยภาพรวมอยู่ในโน้มไปทางลัทธิปฏิรูปนิยม ด้านจุดมุ่งหมายการศึกษา โน้มไปทางลัทธิอัตถิภาวนิยม ด้านหลักสูตร โน้มไปทางลัทธิปฏิรูปนิยม ด้านผู้สอน โน้มไปทางลัทธิพุทธปรัชญา ด้านผู้เรียน โน้มไปทางลัทธิพิพัฒนาการนิยม ด้านสถาบันการศึกษา โน้มไปทางลัทธิปฏิรูปนิยม ด้านกระบวนการเรียนการสอน โน้มไปทางปฏิรูปนิยม ด้านการวัดและประเมินผล โน้มไปทางลัทธิปฏิรูปนิยม ผลการเปรียบเทียบ พบว่าของบุคลากรที่มี สถานภาพ และวุฒิการศึกษา ต่างกันมีแนวคิดทางปรัชญาการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนประสบการณ์ในการทำงาน ต่างกัน แตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ผลการสังเคราะห์พบว่า ด้านจุดมุ่งหมายการศึกษา ลัทธิอัตถิภาวนิยม ด้านหลักสูตร ด้านสถาบันการศึกษา ด้านกระบวนการเรียนการสอน และด้านการวัดผลประเมินผล ลัทธิปฏิรูปนิยม ด้านผู้สอน ลัทธิพุทธปรัชญา ด้านผู้เรียน ลัทธิพิพัฒนาการนิยม ผลการสร้างรูปแบบการจัดการศึกษา และการจัดการเรียนrพบว่า ภาพรวม และองค์ประกอบส่วนใหญ่ เป็นลัทธิปฏิรูปนิยม ส่วน ผู้สอน เป็นลัทธิพุทธปรัชญา และผู้เรียน เป็นลัทธิพิพัฒนาการนิยม
dc.description.abstractThe purpose of this study was to study the comparison, synthesis, development, and modeling philosophy of education higher education. The study was a survey research. A sample of 177 cases was drawn from support personnel who are currently working in the Faculty of Education, Ramkhamhaeng University, by using a table of Krejcie and Morgan, simple random sampling. Data were collected by questionnaire, a multiple-choice questionnaire with 6 selections with an IOC of 0.96. Data were analyzed using frequency distribution to find percentage and test Chi-square. The results of the study were as follows: It was found that as a whole is inclined towards reformism educational objectives Inclined towards existentialism in curriculum, leaning towards reformism, instructor leaning towards Buddhist philosophy, learner leaning towards prosperity Institution Inclined towards reformism in the teaching and learning process Inclined towards popular reform measurement and evaluation Inclined towards reformism. Comparison of personnel with status and educational background differences in educational philosophical concepts differed significantly at the .05 level, while the work experience was significantly different at the .05 level. The result of the synthesis of new concepts Educational objectives Existentialism in curriculum for educational institutions in the teaching and learning process and evaluation and evaluation Reformist doctrine of Buddhist doctrine, learners, doctrine, prosperity, popularity. The result of creating an educational management model. And the teaching and learning management of the Faculty of Education as a whole and the majority It is a reformist doctrine, while the teachings are Buddhism, philosophy and learners are a doctrine.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/4436
dc.language.isoth
dc.subjectแนวคิดปรัชญา
dc.subjectการศึกษาไทย
dc.subjectอุดมศึกษา
dc.subjectPhilosophy Concepts
dc.subjectThai Education
dc.subject.isced0223 ปรัชญาและจริยธรรม
dc.subject.oecd6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา
dc.titleแนวคิดทางปรัชญาการศึกษาในบริบทของการศึกษาไทยระดับอุดมศึกษา
dc.title.alternativeThe concept of philosophy of education higher educationen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID767
harrt.researchAreaปรัชญา - อื่นๆ
harrt.researchGroupปรัชญา
harrt.researchTheme.1อื่นๆ
harrt.researchTheme.2ปรัชญาการศึกษา
mods.location.urlhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jmhs1_s/article/view/243801
oaire.citation.endPage366
oaire.citation.issue3
oaire.citation.startPage357
oaire.citation.titleวารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
oaire.citation.titleJournal of Multidisciplinary in Humanities and Social Sciences en
oaire.citation.volume3
Files