Publication:
การวิเคราะห์คําศัพท์ HSK ในหนังสือเรียนภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

dc.contributor.authorวิสุดา แก้วหยด
dc.contributor.authorKaewyod, Wisudaen
dc.date.accessioned2023-12-15T14:23:56Z
dc.date.available2023-12-15T14:23:56Z
dc.date.issued2020
dc.date.issuedBE2563
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ ดังนี้ 1) เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคําศัพท์ในหนังสือเรียนกับวงคําศัพท์เกณฑ์มาตรฐานวัดระดับความรู้ภาษาจีน(HSK) ระดับ1-62) เพื่อศึกษาวิเคราะห์ความสอดคล้องคําศัพท์ในหนังสือเรียนกับวงคําศัพท์เกณฑ์มาตรฐานวัดระดับความรู้ภาษาจีน(HSK) ระดับ1-6และ 3) เพื่อนําเสนอแนวทางการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดยศึกษาคําศัพท์หนังสือเรียนภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีนชั้นปีที่ 1คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี โดยคัดเลือกวิเคราะห์เฉพาะคําศัพท์ที่ไม่ซ้ํากัน มีจํานวนทั้งสิ้น1,369 คํา ผลการศึกษาพบว่า1) คําศัพท์ในหนังสือเรียนที่ตรงกับคําศัพท์HSKระดับ1-6 มีจํานวน752 คําซึ่งคําศัพท์HSK ระดับ 3และระดับ 4มีจํานวนคําศัพท์สอดแทรกเพิ่มเข้ามามากที่สุดเมื่อเทียบกับจํานวนคําศัพท์ในระดับอื่น ๆ 2) คําศัพท์ในหนังสือเรียนสอดคล้องกับวงคําศัพท์HSK ในระดับ1มากที่สุด ผลสัดส่วนจํานวนคําศัพท์คิดเป็นค่าเฉลี่ยร้อยละ86% ถัดไปคือ ระดับ2มีค่าเฉลี่ย 82.33%ตามลําดับ ดังนั้นผู้เรียนจึงได้เรียนรู้คําศัพท์HSK ระดับ1-2 จากหนังสือเรียนมากที่สุดและ 3) หนังสือเรียนภาษาจีนของนักศึกษาชั้นปีที่ 1ใช้เรียนในปัจจุบันถือเป็นสื่อที่เหมาะสมและสอดคล้องกับองค์ความรู้ของผู้เรียนคําศัพท์HSK ระดับ1-2 ทั้งสามารถพัฒนาให้นักศึกษาเรียนรู้วงคําศัพท์HSKระดับ3ในช่วงที่ศึกษาชั้นปีที่ 1ได้โดยการกระตุ้นและฝึกฝนหรือผู้สอนสอดแทรกคําศัพท์HSKระดับ 3เพิ่มเติมจากเนื้อหาคําศัพท์ที่มีอยู่แล้วในหนังสือเรียน เพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านคําศัพท์HSKระดับ 3ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการเตรียมความพร้อมสําหรับการสอบวัดระดับภาษาจีนHSKของนักศึกษาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
dc.description.abstractThe objectives of this study were: 1) to compare the vocabularyused in the Chinese textbooks with the benchmark criterion of the vocabularyin the Chinese Proficiency Test (HSK) Level 1-6; 2) to analyze the conformity of the vocabulary in the Chinese textbooks with the criterion of the Chinese Language Proficiency Test (HSK) Level 1-6; and 3) topropose the guidelines for the development of an efficient teaching and learning method. The samples for this study were 1,369 words taken from the Chinese textbooks for the 1styear students in the Chinese program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani Rajabhat University, Thailand. The findings of this study were as follows. (1) There were752 words in the textbooks that matched those in the benchmark criterion for measuring the Chinese language knowledge (HSK)Level 1-6. Moreover, the vocabulary words of HSK level 3 and HSK level 4 were mostly found compared with those from other HSK levels. (2) The words in the textbooks matched those in the HSK Level 1 most with an average of 86%, and in HSK Level 2 with average of 82.33% respectively.Therefore, the students have learnt the vocabulary words of HSK level 1-2 most from the textbooks for 1styear students. (3)Selection of using the Chinese textbooks for teaching 1styear Chinese majors of Ubon Ratchathani Rajabhat University at present is appropriate because the words in the textbooks matched the HSK vocabulary level 1-2, and is suitable for beginners. In addition, these 1styear Chinese majors could be encouraged to learn more vocabulary in HSK level 3 found both in the textbooks and from out-side class materials.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3477
dc.language.isoth
dc.subjectการวิเคราะห์คําศัพท์
dc.subjectการสอบวัดระดับภาษาจีน
dc.subjectหนังสือเรียนภาษาจีน
dc.subjectนักศึกษาชั้นปีที่ 1
dc.subjectVocabulary Analysis
dc.subjectHsk Testing
dc.subjectChinese Textbooks
dc.subject1st Year Students
dc.subject.isced0231 การเรียนภาษา
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการวิเคราะห์คําศัพท์ HSK ในหนังสือเรียนภาษาจีนของนักศึกษาสาขาวิชาภาษาจีน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
dc.title.alternativeThe Analysis of HSK Vocabulary in Chinese Textbooksfor students in the Chinese Program, Faculty of Humanities and Social Sciences, Ubon Ratchathani Rajabhat Universityen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID496
harrt.researchAreaการสอนภาษาจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1การสอบวัดระดับ การประเมินผล
mods.location.urlhttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/humanjubru/article/view/239373
oaire.citation.endPage150
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage134
oaire.citation.titleวารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
oaire.citation.titleHumanities and Social Sciences Journal, Ubon Ratchathani Rajabhat Universityen
oaire.citation.volume11
Files