Publication: A Vacational Training Course for Chinese Volunteers at Faculty of International Studies, Prince of Songkla University,Phuket Campus
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2011
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of International Studies
วารสารวิเทศศึกษา
วารสารวิเทศศึกษา
Volume
1
Issue
2
Edition
Start Page
109
End Page
118
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
A Vacational Training Course for Chinese Volunteers at Faculty of International Studies, Prince of Songkla University,Phuket Campus
Alternative Title(s)
โครงการอบรมพิเศษสำหรับอาสาสมัครจีน ณ คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
In March 2010, the Faculty of International Studies, Prince of Songkla University, in cooperation with the Confucius Institute at Phuket, provided a vocational training course to six Chinese volunteers. The course aimed to provide the Chinese volunteers with knowledge of Thai language and culture and foreign language teaching methodology. The training lasted for 10 months: March to December 2010, and the assessment was done through an achievement test and teaching practice evaluation. At the completion of the course, the trainees reached the training objectives with high scores from the achievement test (an average of 86%) and with high performance from the teaching practicum (an average of 85%). Closed- and open-ended questionnaires were employed to investigate the effectiveness of the training. Results from the close-ended questionnaire showed that the training was of high quality since the contents met the trainees’ educational and professional needs and it was an adequate integration of theory-based and practical-based training. Similarly, the instructors and mentor teachers satisfactorily completed their tasks as the instructors taught step-by-step, gave constructive feedback, and used effective teaching methods and the mentor teachers supervised the trainees closely, provided prompt assistance, and helped improve the trainees’ teaching performance. Moreover, findings from the open-ended questionnaire revealed that the training course fostered the trainees’ teaching confidence, knowledge, and methodologies. A recommendation made for the training was that it should be that Thai language courses should be more interrelated with the teaching methodology courses.
คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วมกับสถาบันขงจื้อ ภูเก็ต จัดอบรมพิเศษให้กัยอาสาสมัครชาวจีน จำนวน 6 คน ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 การอบรมดังกล่าวมุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยและวิธีการสอนภาษาต่างประเทศ มีระยะเวลา 10 เดือน ระหว่างเดือนมีนาคม - เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรมจากข้อสอบวัดระดับความรู้และประเมินจากการฝึกปฏิบัติการสอน ภายหลังสิ้นสุดการอบรม พบว่า อาสาสมัครชาวจีนสอบผ่านข้อสอบวัดระดับความรู้ในเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 86 และมีผลประเมินจากการฝึกสอนในเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 85 นอกจากนี้ ได้มีการประเมินผลประสิทธิภาพจากการฝึกอบรมจากแบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิด ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดแสดงให้เห็นว่าการฝึกอบรมมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากการสอนกระทำอย่างมีระบบ ผู้สอนให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ และใช้วิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ อาจารย์พี่เลี้ยงให้คำปรึกศสและความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด รวมทั้งช่วยให้อาสาสมัครได้พัมนาการสอนของตนเอง ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดระบุว่า การฝึกอบรมช่วยเพิ่มพูนความมั่นใจในการสอน ความรู้และเทคนิคการสอนให้แก่อาสาสมัคร ข้อเสนอแนะสำหรับการฝึกอบรมนี้คือ ควรให้มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างรายวิชาภาษาไทยและรายวิชาด้านการสอนมากกว่านี้
คณะวิเทศศึกษา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตภูเก็ต ร่วมกับสถาบันขงจื้อ ภูเก็ต จัดอบรมพิเศษให้กัยอาสาสมัครชาวจีน จำนวน 6 คน ในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2553 การอบรมดังกล่าวมุ่งให้ความรู้เกี่ยวกับภาษาและวัฒนธรรมไทยและวิธีการสอนภาษาต่างประเทศ มีระยะเวลา 10 เดือน ระหว่างเดือนมีนาคม - เดือนธันวาคม พ.ศ. 2553 โดยประเมินผลสัมฤทธิ์ของการฝึกอบรมจากข้อสอบวัดระดับความรู้และประเมินจากการฝึกปฏิบัติการสอน ภายหลังสิ้นสุดการอบรม พบว่า อาสาสมัครชาวจีนสอบผ่านข้อสอบวัดระดับความรู้ในเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 86 และมีผลประเมินจากการฝึกสอนในเกณฑ์เฉลี่ยร้อยละ 85 นอกจากนี้ ได้มีการประเมินผลประสิทธิภาพจากการฝึกอบรมจากแบบสอบถามปลายปิดและปลายเปิด ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายปิดแสดงให้เห็นว่าการฝึกอบรมมีประสิทธิภาพสูง เนื่องจากการสอนกระทำอย่างมีระบบ ผู้สอนให้คำแนะนำที่เป็นประโยชน์ และใช้วิธีการสอนที่มีประสิทธิภาพ อาจารย์พี่เลี้ยงให้คำปรึกศสและความช่วยเหลืออย่างใกล้ชิด รวมทั้งช่วยให้อาสาสมัครได้พัมนาการสอนของตนเอง ข้อมูลจากแบบสอบถามปลายเปิดระบุว่า การฝึกอบรมช่วยเพิ่มพูนความมั่นใจในการสอน ความรู้และเทคนิคการสอนให้แก่อาสาสมัคร ข้อเสนอแนะสำหรับการฝึกอบรมนี้คือ ควรให้มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงระหว่างรายวิชาภาษาไทยและรายวิชาด้านการสอนมากกว่านี้