Publication: การศึกษาเปรียบเทียบวัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสระหว่างชั้นปี ของนิสิตสาขาวิชาเอก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส
dc.contributor.author | ศลิตา วรรณีเวชศิลป์ | |
dc.contributor.author | Salita Wanneevechasilp | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T14:38:53Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T14:38:53Z | |
dc.date.issued | 2009 | |
dc.date.issuedBE | 2552 | |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) 1. ศึกษากลวิธีแสดงวัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสของนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 2) ศึกษาเปรียบเทียบความถี่ของแต่ละกลวิธีแสดง จนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 3) ศึกษากลวิธีแสดง จนกรรมการขอโทษที่ 4 ศึกษากลวิธีแสดงวัจนกรรมการขอโทษที่แปรไปตามปัจจัยทางสังคมด้านสถานภาพในภาษาฝรั่งเศสของนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 4) ศึกษาเปรียบเทียบคำที่ใช้ขอโทษที่ปรากฏในประโยควัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศส ระหว่างนิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา คือ นิสิตชั้นปีที่ 1 และ 4 คณะมนุษยศาสตร์ สาขาวิชาเอกภาษาฝรั่งเศส มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ซึ่งได้มาจากการสุ่มตัวอย่างแบบตั้งใจ (Purposive Sampling) จำนวน 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือแบบสอบถามที่ผู้วิจัยสร้าง ขึ้นตามแบบDCT ซึ่งเป็นการออกแบบตามปัจจัยทางสถานภาพของกลุ่มบุคคลในสังคม และความยากง่ายของเรื่องที่จะขอโทษ ผลการวิจัยพบว่า กลวิธีแสดงวัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสของนิสิตทั้ง 2 ชั้นปี แบ่งได้เป็น 5 กลวิธี คือ กลวิธีการกล่าวคําแสดงเจตนาในการขอโทษ กลวิธีการยอมรับผิด กลวิธีการกล่าวแก้ตัว กลวิธีการเสนอชดใช้ กลวิธีการพยายามทำให้ผู้ฟังรู้สึกพอใจ และพบว่านิสิตชั้นปีที่ 4 ใช้กลวิธีแสดง จนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสได้มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 1 และพบว่าสถานภาพทางสังคมไม่มีผลต่อการแสดงวัจนกรรมของนิสิตทั้ง 2 ชั้นปี นอกจากนี้ยังพบว่า นิสิตชั้นปีที่ 4 ใช้คำที่ใช้ขอโทษที่ปรากฏในประโยควัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสได้มากกว่านิสิตชั้นปีที่ 1 | |
dc.description.abstract | The present research aimed to study 1) Techniques identified speech acts of an apology in french between the first year and the fourth year of french majoring students 2) Frequency Comparison of each techniques which identified speech acts of an apology in french between the first year and the fourth year of french majoring students 3) Techniques identified speech acts of an apology which are variant along social status factors in the first year and the fourth year of french majoring students 4) A comparison of words used to identify an apology that appeared in speech acts sentences of an apology between the first year and the fourth year of french majoring students. The example groups of students are french majoring students in the first year and the fourth year, Faculty of Humanities, Kasetsart University. All data in a research were collected from 20 purposive sampling students. Moreover, a device used in a research is a questionnaire which was created with DCT Pattern which was designed along status factors of groups of people in a society and degrees of impositional situations of an apology. The results of research are as follows: techniques identified speech acts of an apology in french by two academic years students were divided into 5 which are speech acts for apologizing purposes, an intent expression of apology, accepting mistakes, excusation, an offer to repair,and an attempt to pleasure listeners;Moreover; the fourth year students identified more speech acts of an apology in french than the first year students did. Social status did not effect speech acts identified by both academic years students Finally, the fourth year students used more speech acts of an apology in french than the first year students did. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/8656 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
dc.publisher.place | กรุงเทพมหานคร | |
dc.subject.contentCoverage | FRA - ฝรั่งเศส | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | การศึกษาเปรียบเทียบวัจนกรรมการขอโทษในภาษาฝรั่งเศสระหว่างชั้นปี ของนิสิตสาขาวิชาเอก วิชาเอกภาษาฝรั่งเศส | |
dc.title.alternative | A comparative study of speech acts of apology in french between the first year and the fourth year of French majoring students | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 471 | |
harrt.researchArea | ภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics) | |
harrt.researchGroup | ภาษาศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | วัจนปฏิบัติศาสตร์/ปริจเฉทวิเคราะห์/วาทกรรมวิเคราะห์ (Pragmatics/Discourse Analysis) | |
harrt.researchTheme.2 | ภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistics) | |
mods.location.url | https://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=358515 | |
thesis.degree.department | คณะมนุษยศาสตร์ | |
thesis.degree.grantor | มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ | |
thesis.degree.level | ปริญญาโท | |
thesis.degree.name | ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต |