Publication:
A study of language in public relations advertising during 1996-2000 A.D.

dc.contributor.authorIampracha, Nathasiri
dc.date.accessioned2023-12-16T14:40:12Z
dc.date.available2023-12-16T14:40:12Z
dc.date.issued2004
dc.date.issuedBE2547
dc.description.abstractการศึกษาเรื่อง “การใช้ภาษาในโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ทางนิตยสาร ระหว่างปี พ.ศ. 2539-2543” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์และลักษณะการใช้ภาษาในส่วนต่างๆ ของโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ จากการศึกษาพบว่าหัวเรื่องที่นิยมใช้มากที่สุดในการโฆษณาเพื่อประชาสัมพันธ์คือ บริการสาธารณะ หัวข้อที่นิยมรองลงมาคือ โฆษณาสถาบัน ตามด้วยหัวข้อที่เกี่ยวกับเหตุการณ์พิเศษที่ทางสถาบันจัดขึ้นและหัวข้อด้านเศรษฐกิจ ตามลำดับ นอกจากนี้จากการศึกษาโครงสร้างของโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์พบว่าโครงสร้างประกอบด้วย 5 ส่วนคือ พาดหัว พาดหัวรอง ภาพประกอบ เนื้อเรื่องและสรุปเรื่อง ผลการศึกษาด้านการใช้ภาษาใน 3 โครงสร้างหลักของโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์คือ พาดหัว เนื้อเรื่อง และสรุปเรื่องแบ่งเป็น 2 ส่วน ส่วนแรกคือการวิเคราะห์โครงสร้างทางไวยากรณ์ในหัวเรื่องพบลักษณะการใช้ภาษาในทุกระดับตั้งแต่ระดับคำ วลี อนุพากย์ และประโยค โดยอนุพากย์จะเป็นอนุพากย์ไม่อิสระ ส่วนประโยคจะแบ่งออกเป็น 2 ชนิด คือ OSV structure (topicalized structure) และ SOV structure ในส่วนเนื้อเรื่องพบว่ามีการใช้ภาษาในระดับย่อหน้าในการให้รายละเอียดของโฆษณาและสุดท้ายคือสรุปเรื่องพบว่ามีการใช้ภาษาในระดับวลีและประโยคเพื่อทำหน้าที่ในการสื่อความหมาย สำหรับส่วนที่สอง มีการใช้กลวิธีทางภาษาในการดึงดูดความสนใจผู้อ่านโดยมีการใช้กลวิธีต่างๆ ได้แก่ การใช้คำสัมผัสพบว่ามีการใช้สัมผัสทั้ง 2 ชนิด คือสัมผัสสระและสัมผัสพยัญชนะ การซ้ำรูปคำมี 2 ชนิด คือการซ้ำคำทันทีและการซ้ำคำที่คั่นด้วยคำ กลวิธีเหล่านี้ทำให้ภาษาโฆษณาน่าสนใจและจดจำง่ายดึงดูดใจผู้อ่าน
dc.description.abstractThe purpose of this study is to investigate the characteristics of public relations advertising and the language in public relations advertising. During the study of the characteristics of public relations advertising, themes have been discussed first. The most popular theme is public service, whereas an institution theme is second. A special events theme occurs third and an economy theme occurs the least. In addition, the structure of public relations advertising is composed of five components: Headline, Subheadline, Illustration, Body copy, and Ending. Regarding the grammatical structure, there are three main components of advertising: Headline, Body copy, and Ending. A headline can be formed by a word, phrase, clause, or sentence. The clauses found in headlines are only dependent clauses. The sentences are classified into two types: OSV structure (object subject verb=topicalized structure) and SOV structure (subject object verb). The Body copy consists of a paragraph. Ending is realized by phrases and sentences. As for rhetorical devices, the strategies used are rhyme, alliteration, and repetition. The grammatical forms and rhetorical devices are used to convey a persuasive meaning in order to call attention from the readers.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/8750
dc.language.isoen
dc.publisher.placeนครปฐม
dc.subjectAdvertising Language
dc.subjectGrammatical Structure
dc.subject.contentCoverageTHA - ไทย
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleA study of language in public relations advertising during 1996-2000 A.D.
dc.title.alternativeการศึกษาการใช้ภาษาในโฆษณาเพื่อการประชาสัมพันธ์ทางนิตยสารระหว่างปีพ.ศ. 2539-2543th
dc.typeวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID1117
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ทฤษฎี (Theoretical Linguistics)
harrt.researchGroupภาษาศาสตร์
harrt.researchTheme.1วัจนปฏิบัติศาสตร์/ปริจเฉทวิเคราะห์/วาทกรรมวิเคราะห์ (Pragmatics/Discourse Analysis)
mods.location.urlhttps://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=259974
thesis.degree.departmentสถาบันวิจัยภาษาเเละวัฒนธรรมเอเชีย
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยมหิดล
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameMaster of Arts
Files