Publication:
พุทธจริยศาสตร์ ว่าด้วยปาณาติบาต

dc.contributor.authorพระมหาสุรชัย ชยาภิวฑฺฒโน/พุดชู
dc.date.accessioned2023-12-16T06:39:24Z
dc.date.available2023-12-16T06:39:24Z
dc.date.issued2017
dc.date.issuedBE2560
dc.description.abstractบทความนี้ประกอบด้วยเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา3ประการคือ1)เพื่อศึกษาแนวคิดด้านจริยศาสตร์ในทางพุทธปรัชญาเถรวาท2)เพื่อศึกษากรณีตัวอย่างปัญหาและวิธีการวินิจฉัยด้านจริยศาสตร์ในทางพุทธปรัชญาเถรวาท3)เพื่อการนาไปประยุกต์ใช้เป็นแนวทางแก้ปัญหาสังคมปัจจุบันการศึกษานี้เป็นลักษณะการวิจัยเชิงคุณภาพตามกระบวนการศึกษาด้านมนุษยศาสตร์โดยใช้วิธีวิภาษวิธีและวิธีหาเหตุผลด้วยวิจารณญาณ ภายใต้การวิเคราะห์ วิจักษ์และวิธาน ปัญหาทางจริยธรรมเป็นประเด็นทางการศึกษาอย่างหนึ่งของจริยศาสตร์ปัจจุบันการล่วงละเมิดจริยธรรมมีมากในบทความนี้ได้นาเสนอปัญหาจริยศาสตร์เชิงพุทธในระดับเบื้องต้นคือเบญจศีลเฉพาะข้อว่าด้วยปาณาติบาตประเด็นทางจริยธรรมในศีลข้อนี้ก็คือเรื่องของอัตวินิบาตการุณยฆาตและนายเพชฌฆาตกับนักโทษประหารจากการศึกษาพบว่าการวินิจฉัยปัญหาทางจริยธรรมในทางพุทธจริยศาสตร์จะมีเกณฑ์วินิจฉัยที่ชัดเจนนั่นคือหลักพระธรรมวินัยในที่นี้คือหลักวินิจฉัยศีลข้อที่1 หากปัญหาใดเข้าข่ายหลักที่ว่านี้ถือว่าผิดศีลอย่างไรก็ตามการวินิจฉัยปัญหาทางพุทธจริยศาสตร์ไม่ได้ยึดตัวบทของคัมภีร์อย่างเดียวแต่ขึ้นอยู่กับบริบททางสังคมด้วยเช่นประโยชน์หรือโทษที่สังคมจะพึงได้รับจากการกระทานั้นดังนั้นการแก้ปัญหาทางพุทธจริยศาสตร์จึงอยู่บนทางสายกลางคือความพอดีไม่สุดโต่งเอนเอียงไปด้านใดด้านหนึ่งและเป็นการประยุกต์เข้าหาสังคมโดยมีหลักการวินิจฉัยที่แน่นอนว่าถูกหรือผิดในความถูกหรือผิดก็มีข้อพิจารณาคุณหรือโทษมากน้อยต่างกันขึ้นอยู่กับองค์ประกอบที่นามาวิเคราะห์ร่วม
dc.description.abstractThis article consistsof 3 studiesincluding(1) to study the Theravada Buddhist ethicsen
dc.description.abstract(2) to study in some cases of problems and tojudge suchproblems according to Theravada Buddhist ethicsen
dc.description.abstractand (3) to apply using in today’s society. Itis the qualitative research in the process of humanism which is used by the dialectic and discursive method under the analytic, appreciative, and applicative approach. Moral problems are one of case studies of ethics. Nowadays a serious mistake of morality will be increased. This article presents the problems of the basic Buddhist ethics, i.e. 5 precepts which is selected to Killing topic. The moral problems in this kind of precepts are a suicide, euthanasia, and executioner and capital punishment. From this study, it is found that thejudgmentsof moral problems in Buddhist ethics havethe certain doctrines, i.e.the judgments to abstain from Killing. If some cases make a mistake in these judgments, that are wrong percept. However, thejudgments of Buddhist ethics not only insist on text, but also apply to social context such as an advantage or disadvantage of having from such a situation. Hence, the solution of the Buddhist ethicalproblems is based on a middle path, i.e. moderation,not an extreme left-wing/right-wing view,andadaptable to society. It is a judgment what is right or wrong. In such a judgmentit is carefully considered by a valuedor unvaluedreason which is based on a conclusive proof to criticize.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/4874
dc.language.isoth
dc.subjectพุทธจริยศาสตร์
dc.subjectปาณาติบาต
dc.subjectอัตวินิบาต
dc.subjectการุณยฆาต
dc.subjectโทษประหารชีวิต
dc.subjectBuddhist Ethics
dc.subjectKilling In Buddhism
dc.subjectSuicide
dc.subjectEuthanasia
dc.subjectCapital Punishment
dc.subject.isced0223 ปรัชญาและจริยธรรม
dc.subject.oecd6.3 ปรัชญา จริยธรรมและศาสนา
dc.titleพุทธจริยศาสตร์ ว่าด้วยปาณาติบาต
dc.title.alternativeBuddhist Ethics on Killingen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID1214
harrt.researchAreaปรัชญาพุทธเถรวาท
harrt.researchGroupปรัชญา
harrt.researchTheme.1จริยศาสตร์
harrt.researchTheme.2จริยศาสตร์ประยุกต์
mods.location.urlhttps://so05.tci-thaijo.org/index.php/huru/article/view/92181/72256
oaire.citation.endPage160
oaire.citation.issue1
oaire.citation.startPage139
oaire.citation.titleวารสารรามคำแหงฉบับมนุษยศาสตร์
oaire.citation.titleRamkhamhaeng University Journal Humanitites Editionen
oaire.citation.volume36
Files