Publication:
การใช้คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยนของคนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดภูเก็ตตามตัวแปรทางสังคมบางประการ

dc.contributor.authorนลินลักษณ์ หอมหวล
dc.contributor.authorNalinlak Homhuanen
dc.date.accessioned2023-12-16T14:39:53Z
dc.date.available2023-12-16T14:39:53Z
dc.date.issued2013
dc.date.issuedBE2556
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีจุดมุงหมายเพื่อวิเคราะหการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนของคนที่อาศัย อยูในจังหวัดภูเก็ตตามตัวแปรทางสังคมไดแก อายุ (แบงเปน 3 ชวงอายุ คือ อายุนอย 10-30 ป อายุกลาง 31-50 ป อายุมาก 51 ปขึ้นไป) เพศ (แบงเปนเพศชายและเพศหญิง) การศึกษา (แบงเปน การศึกษาต่ําไดแก ระดับประถมศึกษาหรือต่ํากวาระดับประถมศึกษา ระดับมัธยมศึกษาตอนตน การศึกษาปานกลางไดแก ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย/ปวช. การศึกษาสูงไดแก ระดับอุดมศึกษา) อาชีพ (แบงเปนกลุมอาชีพรับราชการและกลุมอาชีพเอกชน) และเชื้อสาย (แบงเปนเชื้อสายไทย และเชื้อสายจีนฮกเกี้ยน) รวมทั้งหมด 210 คน ขอมูลที่ใชในการวิจัยไดจากแบบสอบถาม งานวิจัยนี้กําหนดคานับสําคัญไวที่ p = 0.05 ผลการศึกษาพบวา เปนไปตามสมมติฐาน คือ คนที่อาศัยอยูในจังหวัดภูเก็ตกลุมที่มีอายุมาก มีการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกวากลุมที่มีอายุนอย เพศชายมีการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนใน ปริมาณมากกวาเพศหญิง กลุมที่มีการศึกษาสูงมีการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนในปริมาณนอยกวา กลุมที่มีการศึกษาต่ํา กลุมอาชีพเอกชนมีการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกวากลุมอาชีพรับราชการ เชื้อสายจีนฮกเกี้ยนมีการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยนมากกวาเชื้อสายไทย นอกจากนั้นผลการใชสถิติ ไคสแควรยังพิสูจนวาทุกตัวแปรทางสังคมที่ศึกษาพบวา p = 0.00 ซึ่งนอยกวาระดับนัยสําคัญ ที่ตั้งไวที่ 0.05 แสดงวา อายุ เพศ การศึกษา อาชีพ และเชื้อสาย มีผลตอการใชคํายืมภาษาจีนฮกเกี้ยน
dc.description.abstractThe purpose of this study was to analyze Fujian loanwords used by Phuket residents based on certain social factors in accordance with social variables comprising age (it was 3 periods: less age 10-30 year, middle age 31-50 year and more than 51 years), gender (Male and Female) Educational Level (low Educational Level; Primary-Secondary, Middle Educational Level; High School/Diploma and High Educational Level; University), Career (Government & Private) and Lineage (Thai & Fujian)The total number of respond to was 210 persons. The data was collected by questionnaires and the critical value is p = 0.05. The study found that it was base on the assumptions that was the group of people who had the age more than 51 years used Fujian loanwords more than the group of less age people. The group of male used Fujian loanwords more than the group of female. The group of high educational level used Fujian loanwords less than the group of low educational level. The group of Private career used Fujian loanwords more than the group of Government career. And the group of Fujian lineage used Fujian loanwords more than the group of Thai lineage. Besides the result of Chi-Square Test using found that the critical value is p= 0.00 that was less than the assumption p=0.05 and it showed that the social factors (Age, gender, Educational level, Career and Lineage) affected to Fujian loanwords using.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/8707
dc.language.isoth
dc.publisherมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
dc.publisher.placeกรุงเทพมหานคร
dc.subject.contentCoverageYUE - จีนฮกเกี้ยน
dc.subject.contentCoverageTHA - ไทย
dc.subject.contentCoverageSOU - ไทยถิ่นใต้
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการใช้คำยืมภาษาจีนฮกเกี้ยนของคนที่อาศัยอยู่ในจังหวัดภูเก็ตตามตัวแปรทางสังคมบางประการ
dc.title.alternativeFujian loanwords used by Phuket residents based on certain social factorsen
dc.typeวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID279
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)
harrt.researchGroupภาษาศาสตร์
harrt.researchTheme.1ภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistics)
mods.location.urlhttps://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=382901
thesis.degree.departmentคณะมนุษยศาสตร์
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Files