Publication:
กำเนิดลูกเสือสยาม: เครื่องมือทางอุดมการณ์ของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์

dc.contributor.authorสมิทธ์ ถนอนศาสนะ
dc.contributor.authorSamiddhi Thanomsasanaen
dc.contributor.editorณัฐพล อิศรางกูร ณ อยุธยา
dc.contributor.editorNattapol Isarankura Na Ayudthyaen
dc.coverage.temporal1911-1932
dc.date.accessioned2023-12-16T09:11:25Z
dc.date.available2023-12-16T09:11:25Z
dc.date.issued2020
dc.date.issuedBE2563
dc.description.abstractหากมองผ่านงานประวัติศาสตร์การเมืองโดยทั่วไป กิจกรรมลูกเสือในยุคก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองอาจไม่ได้มีความสำคัญมากนัก อย่างไรก็ตาม หากคำนึงว่ากิจกรรมดังกล่าวเป็นภาคปฏิบัติยุคแรกๆ ที่รัฐสมบูรณาญาสิทธิ์นำเสนอให้แก่เด็กวัยรุ่นในช่วงทศวรรษ 2450 จนถึงช่วงต้นทศวรรษ 2470 โดยเป็นกิจกรรมที่องค์อธิปัตย์ได้ลงมาดูแลด้วยตนเอง มีการออกแบบพิธีต่างๆ ที่ยึดโยงกับสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความพยายามจะเผยแพร่กิจกรรมดังกล่าวไปทั่วประเทศผ่านระบบโรงเรียนสมัยใหม่ ภายใต้บริบทที่รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ต้องเผชิญกับคำถามและความคิดใหม่ๆ ของคนรุ่นหนุ่มจำนวนมากผ่านหน้าหนังสือพิมพ์ในช่วงเวลาดังกล่าวกิจกรรมข้างต้นจึงอาจมองในฐานะส่วนหนึ่งของกลไกทางอุดมการณ์ที่รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้พยายามใช้ปลูกฝังแนวคิดที่ “ถูกต้อง” (ตามทัศนะของรัฐ) และพยายามบ่มเพาะเยาวชนไทยให้เป็น “ไพร่ฟ้าข้าแผ่นดินอันประเสริฐ” ได้ นอกจากนี้ สัญลักษณ์และพิธีบางส่วนของลูกเสือในยุคแรก ยังได้ถูกนำไปปรับใช้กับกิจกรรมทางการเมืองในยุคต่อมาอย่างลูกเสือชาวบ้านในช่วงทศวรรษ 2510 และต้นทศวรรษ 2520 อีกด้วย
dc.description.abstractBoy Scout Movement in pre-revolutionary Siam is a subject matter that has been generally overlooked in the account of political history of Siam. Yet, the fact appears that the movement is one among early practices that was tailored by the absolutist state especially for the youth during 1910s and early 1930s and the sovereign even undertook control of the movement directly. Ceremonies of the movement were created with the purpose to form a bond of loyalty of its participants to the monarchy, the state attempted to impose its activities throughout Siamese schools on nation-wide basisen
dc.description.abstractwhile at that time, the absolutist regime was heavily challenged and criticized by young people via flourishing press. Thus, I propose that in such context, the Boy Scout Movement can be seen as a machinery of the absolutist state struggling with its dissidents by means of indoctrinating ‘the right attitude’ and a sense of ‘devout subjects of the king’ to the youth. Additionally, it is remarkable that some symbols and ceremonies of the Boy Scout Movement from pre-revolutionary period were also aptly implicated in political activities of the Village Scout Movement in 1970s.en
dc.identifier.issn0125-1902
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/7584
dc.language.isoth
dc.publisherภาควิชาประวัติศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
dc.subject.isced0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.subject.oecd6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.titleกำเนิดลูกเสือสยาม: เครื่องมือทางอุดมการณ์ของรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์
dc.title.alternativeThe Formation of Boy Scout in Siam: An instrument of Ideological Construction under Absolute Monarchy Regimeen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID354
harrt.researchAreaประวัติศาสตร์
harrt.researchGroupประวัติศาสตร์
harrt.researchTheme.1ประวัติศาสตร์ไทย
harrt.researchTheme.2ประวัติศาสตร์การเมือง
mods.location.urlhttps://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOH/article/view/12986/10655
oaire.citation.endPage190
oaire.citation.startPage163
oaire.citation.titleวารสารประวัติศาสตร์
oaire.citation.titleJournal of Historyen
oaire.citation.volume45
Files