Publication: บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมของหูซื่อ
dc.contributor.author | รัชกฤช วงษ์วิลาศ | |
dc.contributor.author | 陈, 子奇 | cn |
dc.contributor.author | Wongwilas, Ratchakrit | en |
dc.coverage.temporal | 1917-1923 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T14:33:27Z | |
dc.date.available | 2023-12-15T14:33:27Z | |
dc.date.issued | 2017 | |
dc.date.issuedBE | 2560 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มุ่งอภิปรายวาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมซึ่งปรากฏในผลงานของหูซื่ออยู่บ่อยครั้ง ได้แก่ “วรรณกรรมเป็น” “วรรณกรรมตาย”และ “ภาษาแห่งชาติ” โดยทำการศึกษาจากข้อเขียนที่มีเนื้อหาว่าด้วยวรรณกรรมที่มีชื่อเสียงของเขา 3 ชิ้น ดังนี้ “ข้อเสนอสู่การปฏิรูปวรรณกรรม” “บทอภิปรายการปฏิวัติวรรณกรรมเชิงสร้างสรรค์” และ “วรรณกรรมจีนในรอบห้าสิบปีที่ผ่านมา” วาทกรรมทั้ง 3 ประการดังกล่าวของหูซื่อได้รับการสถาปนาขึ้นเป็นอุดมการณ์ของรัฐในที่สุด ผลการศึกษาได้แสดงให้เห็นว่า การที่วาทกรรมของปัจเจกบุคคลจะได้รับการยอมรับถึงขั้นที่ได้สถาปนาขึ้นเป็นอุดมการณ์ของรัฐนั้น จาเป็นต้องผ่านการต่อสู้ช่วงชิงพื้นที่ทางความหมายเพื่อสถาปนาคุณค่าบางประการขึ้นในการรับรู้ของผู้คนในสังคม จนสามารถกลายเป็นสิ่งที่ผู้คนยึดถือว่าเป็น “ความจริง” ได้ในที่สุด ดังนั้นจึงเป็นสิ่งที่ถูกประกอบสร้างจากเจตนารมณ์ของคนบางกลุ่มที่มีอานาจในการสร้างความหมาย มิได้เป็นสิ่งที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติอย่างที่มักเข้าใจกัน ด้วยเหตุนี้ วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมทั้ง 3 ประการของหูซื่อจึงถือเป็นสิ่งประกอบสร้างตามเจตนารมณ์ของเขาที่สอดคล้องกับบริบทสังคมจีนช่วงต้นศตวรรษที่ 20 ที่ต้องการให้มีการปฏิรูปภาษาจีน เพื่อนาไปสู่การสร้างรัฐชาติที่เข้มแข็ง | |
dc.description.abstract | 本文旨在讨论屡次出现于胡适的文章的“活文学”、“死文学”以及“国语”等文学话语,并以胡适的《文学改良刍议》、《建设的文学革命论》以及《五十年来之中国文学》等内容涉及到文学领域的文章为研究对象。胡适所提出的这3个话语最终可以发展成国家的意识形态。本文的研究成果发现,个人的话语可以发展成国家的意识形态这一现象,需要通过一定程度的奋斗,以争夺定义的空间和权力,并将某种价值观宣传到人们的意识中,最终可以为人们所接受为一种“真实”。这便是具有定义权的某些群体所建构出来的,而不是人们所理解为自然而然的。因此,胡适的文学话语便是一种被建构之物,其话语正符合20世纪初的中国社会需求——进行语言改革,以建立坚强的民族国家。 | cn |
dc.description.abstract | This paper aims to discusson HuShi’s literary discourses—“living literature”, “dead literature” and “national language”—which were mentioned frequently in his articles, by investigating on his articles about literature—A Preliminary Discussion of Literature Reform, Constructive Literary Revolution and Chinese Literatures in These Fifty Years. These 3 literary discourses of Hu Shi finally could be developed as the ideologies of the state. As the result of the study, developing personal discourses to the ideologies of the state, needs to struggle for a space for defining, so that able to establish some values into people’s mind, and finally can be accepted as “the truth”. Thus, it is constructed from the intention of some groups of people, which possess the power to define, rather than naturally occur. Hu Shi’s literary discourses, as well, were constructed along with the context of early 20th century Chinese society, which language reformation was needed for building an independent nation state. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4071 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | หูซื่อ | |
dc.subject | วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรม | |
dc.subject | วรรณกรรมเป็น | |
dc.subject | วรรณกรรมตาย | |
dc.subject | ภาษาแห่งชาติ | |
dc.subject | Hu Shi | |
dc.subject | Literary Discourse | |
dc.subject | Living Literature | |
dc.subject | Dead Literature | |
dc.subject | National Language | |
dc.subject | 胡适 | |
dc.subject | 文学话语 | |
dc.subject | 活文学 | |
dc.subject | 死文学 | |
dc.subject | 国语 | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | บทวิเคราะห์วาทกรรมว่าด้วยวรรณกรรมของหูซื่อ | |
dc.title.alternative | 论胡适的文学话语 | cn |
dc.title.alternative | An Analysison HuShi’s Literary Discourse | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 835 | |
harrt.researchArea | วรรณกรรมจีน | |
harrt.researchGroup | ภาษาจีน | |
harrt.researchTheme.1 | การวิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี | |
harrt.researchTheme.2 | วรรณกรรมจีนสมัยใหม่ | |
mods.location.url | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/98199 | |
oaire.citation.endPage | 129 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 109 | |
oaire.citation.title | วารสารจีนศึกษา | |
oaire.citation.title | 中國學研究期刊 | cn |
oaire.citation.title | Chinese Studies Journal | en |
oaire.citation.volume | 10 |