Publication: A Comparison of T ranslation Techniques in Translating English Personal Pro nouns into Thai: A Case Study of Little Lord Fauntleroy
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2022
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1906-7208 (P-ISSN), 2651-1126 (E-ISSN)
eISSN
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
Volume
14
Issue
2
Edition
Start Page
80
End Page
111
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
A Comparison of T ranslation Techniques in Translating English Personal Pro nouns into Thai: A Case Study of Little Lord Fauntleroy
Alternative Title(s)
การเปรียบเทียบกลวิธีการแปลบุรุษสรรพนามจากภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย: กรณีศึกษาเรื่องลอร์ดน้อยฟอนเติ้ลรอย
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This research aims to compare the personal pronouns translation techniques used in translating the original English literature, Little Lord Fauntleroy, written by Frances Hodson which is translated by three Thai translators: Nawanak, Kaewkhamthip Chai, and Nengnoi Sattha. The data analyzed in this paper was collected from the translation of the narration and the dialogue of the characters. Baker’s framework (2018) was used as a criterion. 12 techniques were found in translating English pronouns to Thai. They are 1) the use of pronouns, 2) omission of personal pronouns, 3) the use of kinship terms, 4) the use of nouns or noun phrases, 5) the use of occupation terms, 6) the use of personal names, 7) the use of demonstratives, 8)inference, 9) the use of the antecedent, 10) the use of numbers, 11) the use of cultural words, and 12) the use of common nouns. The factors influencing translation techniques are grammatical features, such as number, and cultural factors, such as seniority, characters’ relationships, and speech situation.
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบกลวิธีการแปลคําบุรุษสรรพนามที่แปลจากวรรณกรรมต้นฉบับภาษาอังกฤษ เรื่อง Little Lord Fauntleroy แต่งโดย Frances Hodgson และได้รับการแปลเป็นภาษาไทยจํานวน 3 สํานวน ได้แก่ เรื่องมาแต่กระยาหงัน แปลโดย นวนาค (ฉุน ประภาวิวัฒน์) เรื่องเจ้าน้อยฟอนเติลรอย แปลโดยแก้วคําทิพย์ ไชย เรื่องลอร์ดน้อยฟอนเติ้ลรอย แปลโดยเนื่องน้อย ศรัทธา และ ข้อมูลที่นํามาวิเคราะห์เก็บจากส่วนการแปลบทบรรยายและส่วนการแปลบทสนทนาของตัวละคร โดยใช้กรอบแนวคิดของ Baker (2018) เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์กลวิธีการแปลภาษาที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมผลการวิจัยพบกลวิธีการแปลสรรพนามในวรรณกรรมแปล จํานวน 12 กลวิธี ได้แก่ การใช้บุรุษสรรพนาม การละ การใช้คําเรียกญาติ การใช้คํานามหรือนามวลี การใช้ชื่ออาชีพ ตําแหน่ง หรือยศ การใช้ชื่อเฉพาะ การใช้คําระบุเฉพาะ การสรุปความการใช้รูปภาษาเดิม การใช้คําแสดงจํานวน การใช้คําแทนทางวัฒนธรรม และการใช้คําอ้างถึงที่ไม่ระบุเฉพาะปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้กลวิธีการแปล ได้แก่ ปัจจัยด้านไวยากรณ์เรื่องพจน์ และปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งแบ่งเป็นเรื่องความอาวุโส ความสัมพันธ์ระหว่างตัวละคร และเรื่องกาลเทศะ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบกลวิธีการแปลคําบุรุษสรรพนามที่แปลจากวรรณกรรมต้นฉบับภาษาอังกฤษ เรื่อง Little Lord Fauntleroy แต่งโดย Frances Hodgson และได้รับการแปลเป็นภาษาไทยจํานวน 3 สํานวน ได้แก่ เรื่องมาแต่กระยาหงัน แปลโดย นวนาค (ฉุน ประภาวิวัฒน์) เรื่องเจ้าน้อยฟอนเติลรอย แปลโดยแก้วคําทิพย์ ไชย เรื่องลอร์ดน้อยฟอนเติ้ลรอย แปลโดยเนื่องน้อย ศรัทธา และ ข้อมูลที่นํามาวิเคราะห์เก็บจากส่วนการแปลบทบรรยายและส่วนการแปลบทสนทนาของตัวละคร โดยใช้กรอบแนวคิดของ Baker (2018) เป็นเกณฑ์ในการวิเคราะห์กลวิธีการแปลภาษาที่มีความแตกต่างทางวัฒนธรรมผลการวิจัยพบกลวิธีการแปลสรรพนามในวรรณกรรมแปล จํานวน 12 กลวิธี ได้แก่ การใช้บุรุษสรรพนาม การละ การใช้คําเรียกญาติ การใช้คํานามหรือนามวลี การใช้ชื่ออาชีพ ตําแหน่ง หรือยศ การใช้ชื่อเฉพาะ การใช้คําระบุเฉพาะ การสรุปความการใช้รูปภาษาเดิม การใช้คําแสดงจํานวน การใช้คําแทนทางวัฒนธรรม และการใช้คําอ้างถึงที่ไม่ระบุเฉพาะปัจจัยที่ส่งผลต่อการเลือกใช้กลวิธีการแปล ได้แก่ ปัจจัยด้านไวยากรณ์เรื่องพจน์ และปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม ซึ่งแบ่งเป็นเรื่องความอาวุโส ความสัมพันธ์ระหว่างตัวละคร และเรื่องกาลเทศะ