Publication: เซิ่งหมิงลี่ : กปิตันจีนในมาเลเซียที่กลายเป็นเทพเจ้า
dc.contributor.author | สุรสิทธิ์ อมรวณิชศักดิ์ | |
dc.contributor.author | 黄, 汉坤 | cn |
dc.contributor.author | Amornwanotsak, Surasit | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T14:36:12Z | |
dc.date.available | 2023-12-15T14:36:12Z | |
dc.date.issued | 2019 | |
dc.date.issuedBE | 2562 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มุ่งนำเสนอประเด็นการกลายเป็นเทพเจ้าของเซิ่งหมิงลี่ หัวหน้ากลุ่มจีนแคะที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นกปิตันจีนคนแรกแห่งเมืองเซเรมบัน รัฐเนอเกอรีเซิมบีลัน จากการศึกษาพบว่า หลังจากที่เซิ่งหมิงลี่ถูกฆ่า เยี่ยย่าไหล อดีตลูกน้องของเซิ่งหมิงลี่ได้ย้ายไปทำเหมืองแร่ที่กัวลาลัมเปอร์ เป็นบุคคลสำคัญที่ทำให้การบูชาเซิ่งหมิงลี่เป็นที่ประจักษ์ชัดขึ้น ตำแหน่ง “เซียนซือเหยีย” ที่ได้มาจากการทรงเจ้าเป็นเครื่องยืนยันในวัตถุประสงค์มุ่งก่อเกิดความศรัทธาในดวงวิญญาณของเซิ่งหมิงลี่ ทั้งนี้ มีตำนานเรื่องเล่าที่เกี่ยวพันกันระหว่างดวงวิญญาณของเซิ่งหมิงลี่กับเยี่ยย่าไหลอีกหลายเรื่อง เชื่อว่าเยี่ยย่าไหลมีความประสงค์ที่จะใช้เซิ่งหมิงลี่เป็นศูนย์รวมใจของชาวจีนแคะ เป็นแรงขับเคลื่อนในการสร้างฐานอำนาจ โดยกรรมกรเหมืองแร่ที่เป็นชาวจีนแคะยกย่องเซิ่งหมิงลี่ในฐานะเทพอารักษ์ประจำกลุ่มอาชีพของตน ซึ่งต่อมากรรมกรเหมืองแร่ชาวจีนจากกลุ่มวัฒนธรรมอื่นๆ ก็บูชาในลักษณะดังกล่าวเช่นกัน ทำให้ความศรัทธาของผู้คนที่มีต่อเซิ่งหมิงลี่ขยายวงกว้างมากยิ่งขึ้น | |
dc.description.abstract | 本文主要讨论芙蓉市第一位客家华人甲必丹盛明利变成神的过程。据研究发现,盛明利被敌人砍头后,其主力助手叶亚来便到吉隆坡发展采锡矿事业,他是推动推动盛明利成神的关键人物,是通过乩童方式把盛明利称作“仙师爷”的人。此外,马来西亚还流传很多关于盛明利显灵故事,都与叶亚来有着密切关联。作者认为,叶亚来是想把盛明利作为马来西亚客家人的精神寄托,主要目的是让在地的客家人和睦、团结,推动客家人的组织实力。起初,盛明利被马来西亚客家人所供奉,是客家矿工的职业神,之后其信仰被其他方言族群所接受,便成为所有马来华人的神灵。 | cn |
dc.description.abstract | This article examines how Sheng Mingli, a Hakka community leader appointed as the first Chinese kapitan of Seremban, Negeri Sembilan, is worshipped as a god in Malaysia. The study finds that Ye Yalai, one of Sheng Mingli’s subordinates who moved and worked in a tin mine in Kuala Lumpur after the brutal death of Sheng Mingli, is a key figure who started deifying him as “Xianshiye.” Additionally, there are folktales about the connection between Sheng Mingli’s spirit and Ye Yalai. One of them has it that Ye Yalai wanted to use Sheng Mingli as a symbol to unite Hakka people together and to strengthen his power over Chinese communities in Kuala Lumour. Originally, only Hakka mine workers had deified Sheng Mingli as their god before the belief spread to Chinese mine workers from other culture groups. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/4261 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | เซิ่งหมิงลี่ | |
dc.subject | มาเลเซีย | |
dc.subject | เทพเจ้า | |
dc.subject | เซียนซือเหยีย | |
dc.subject | เยี่ยย่าไหล | |
dc.subject | Sheng Mingli | |
dc.subject | Malaysia | |
dc.subject | Chinese God | |
dc.subject | Xianshiye | |
dc.subject | Ye Yalai | |
dc.subject | 盛明利 | |
dc.subject | 马来西亚 | |
dc.subject | 神 | |
dc.subject | 仙师爷 | |
dc.subject | 叶亚来 | |
dc.subject.isced | 0314 สังคมวิทยาและวัฒนธรรมศึกษา | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | เซิ่งหมิงลี่ : กปิตันจีนในมาเลเซียที่กลายเป็นเทพเจ้า | |
dc.title.alternative | 盛明利:马来西亚华人甲必丹的成神过程 | cn |
dc.title.alternative | Sheng Mingli: A Chinese Kapitan Who is Deified as a God in Malaysia | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 649 | |
harrt.researchArea | วัฒนธรรมจีน | |
harrt.researchGroup | ภาษาจีน | |
harrt.researchTheme.1 | บุคคลสำคัญ | |
harrt.researchTheme.2 | จีนโพ้นทะเล | |
mods.location.url | https://so01.tci-thaijo.org/index.php/CSJ/article/view/231621 | |
oaire.citation.endPage | 49 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 21 | |
oaire.citation.title | วารสารจีนศึกษา | |
oaire.citation.title | 中國學研究期刊 | cn |
oaire.citation.title | Chinese Studies Journal | en |
oaire.citation.volume | 12 |