Publication: ดวงตาสีฟ้าสุดฟ้า: คนผิวดํากับการแสวงหาตัวตนที่หล่นหาย
dc.contributor.author | อัษฎาวุธ ไชยวรรณ | |
dc.contributor.author | Chaiyawan, Audsadawut | en |
dc.coverage.temporal | 1970-1970 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-14T17:15:33Z | |
dc.date.available | 2023-12-14T17:15:33Z | |
dc.date.issued | 2022 | |
dc.date.issuedBE | 2565 | |
dc.description.abstract | บทความนี้มีวัตถุุประสงค์เพื่อศึกษาตัวละครในนวนิยาย เรื่อง ดวงตาสีฟ้าสุดฟ้าของโทนี มอร์ริสัน ประเด็นการถุูกทําให้เป็นชายขอบ การแสวงหาตัวตน และการสร้างความหมาย ศึกษาด้วยระเบียบวิธีวิจัยเชิงเอกสาร โดยใช้แนวคิดคนชายขอบ นําเสนอด้วยการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่า นวนิยายเรื่องนี้สะท้อนให้เห็นถึงวิธีการปลูกฝังความเชื่อการแบ่งแยกชนชั้นด้วยสีผิว ด้วยการยกระดับคุณค่าคนผิวขาวเป็นสิ่งงดงาม แต่กดทับคนผิวดำให้กลายเป็นความอัปลักษณ์ ส่วนพื้นที่กับการแสดงตัวตนของคนผิวดำทั้งด้านพื้นที่ทางจิตวิญญาณเพื่อเชื่อมโยงรากเหง้าของชาวแอฟริกัน ถือเป็นการสร้างความหมายเพื่อกำหนดคุณค่าความเป็นมนุษย์ ผู้แต่งสร้างตัวละครพีโคลา บรีดเลิฟ เป็นภาพแทนของคนผิวดำที่สยบยอมต่ออำนาจวาทกรรมคนผิวขาวและการให้ความหมายแก่ตัวละครคนผิวขาวที่ดูบริสุทธิ์ และการสื่อสารของคนผิวดำกับสังคมโลก แสดงให้เห็นว่าสังคมของคนผิวดำไม่ได้ยอมรับชุดความคิดเหล่านั้นทั้งหมด แต่พยายามแสวงหาตัวตนที่ผ่านการรวมกลุ่ม และการปรับตัวเพื่อต่อรองอำนาจของคนผิวดำให้เพิ่มมากขึ้น | |
dc.description.abstract | This article aimed to study characters in Toni Morrison’s novel “Bluest Eyes” on the aspects of being treated as a marginal person, a quest for identity, and constructing meaning. The documentary research method was employed based on the concept of marginal people and presented via a descriptive analysis method. The study results reflected the cultivated belief in skin color discrimination in enhancing the value of white people as the stereotyped beauty while degrading black people as ugliness. As for spaces and constructing identity of black people, it was viewed in terms of social space which was a gap between white and black people; geographical space was skin color discrimination, and spiritual space was related to the roots of African-Americans. These were the criteria, which were established to evaluate the value of human beings. Peola Breedlove, created by the author, was a stereotyped African-American who accepted the power of the white’s discourse and defined white characters as being clean or virgin. On the aspect of communication between black people and the world’s society, it was reflected that not all of the black people accepted this stereotyped concept but tried to quest for their identity by grouping and adapting themselves to increase their bargaining power. | en |
dc.identifier.doi | 10.55164/pactj.v35i2.249774 | |
dc.identifier.issn | 0857-0884 (Print), 2651-0804 (online) | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/1792 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | Black People | |
dc.subject | Quest For Identity | |
dc.subject | Marginal People | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | ดวงตาสีฟ้าสุดฟ้า: คนผิวดํากับการแสวงหาตัวตนที่หล่นหาย | |
dc.title.alternative | Bluest Eyes: Black People and a Quest for the Lost Identity | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 128 | |
harrt.researchArea | วรรณกรรมอังกฤษ | |
harrt.researchGroup | ภาษาอังกฤษ | |
harrt.researchTheme.1 | วิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี | |
harrt.researchTheme.2 | นวนิยาย | |
mods.location.url | https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/249774 | |
oaire.citation.endPage | 16 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 1 | |
oaire.citation.title | วารสารปาริชาต | |
oaire.citation.title | Parichart Journal | en |
oaire.citation.volume | 35 |