Publication:
การศึกษากลวิธีการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย

dc.contributor.authorบงกช สาริมาน
dc.contributor.authorBongkoch Sarimanen
dc.date.accessioned2023-12-16T14:45:35Z
dc.date.available2023-12-16T14:45:35Z
dc.date.issued2010
dc.date.issuedBE2553
dc.description.abstractวัตถุประสงค์เพื่อ .ศึกษาวิธีการนำคำในภาษาไทยมาใช้ในการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษ 2.ศึกษากลวิธีการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภามาไทย 3.ศึกษาถึงวัฒนธรรมที่มีผลต่อการนำคำไทยมาใช้ในการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษ และ 4.ศึกษาทัศนคติของผู้ชมภาพยนตร์ที่มีต่อการตั้งชื่อภาพยนตรัภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยผลการวิจัยพบลักษณะการใช้ภาษาไทยในการตั้งชื่อภาพยนตรัภาษาอังกฤษ 8 ลักษณะโดยมีลักษณะการใช้คำทับศัทพัภาษาอังกฤษและการใช้ดำเปรียบเทียบหรือคำที่มีความหมายแฝงมากที่สุด การใช้คำใหม่ คำแสลง การใช้คำปน การใช้คำคล้องจอง การใช้เครื่องหมายวรรดตอนการใช้คำที่มีความหมาย "มาก" "ระดับสูง" และ การใช้คำเลียนเสียงธรรมชาติ ตามลำดับต่อมาพบกลวิธีในการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย 4 วิธี วิธีที่พบมากที่สุดคือ การตั้งชื่อตามเนื้อหาภาพยนตร์ การตั้งชื่อตามตัวแสดงหลักของเรื่อง การตั้งชื่อตามสิ่งของหรือสถานที่ และการตั้งชื่อตามอาชีพของตัวแสดง ตามลำดับทางด้านวัฒนธรรมที่มีผลต่อการตั้งชื่อพบ 3 ลักษณะ ที่พบมากที่สุดคือ การใช้คำนามและดำสรรพนามที่หลากหลายตามระดับบุดคล รองลงมาคือ การใช้ดำเรียกขานตามความสัมพันธ์แบบเครือญาติ และการใช้กำลงท้ายแทนความสุภาพหรือนิ่มนวล ตามลำคับ ส่วนผลการศึกษาทัศนคติที่มีผลต่อการตั้งชื่อภาพยนตร์ภายาอังกฤษเป็นภามไทย พบว่ากลุ่มตัวอย่างมีทัศนคติเฉลี่ยอยู่ในระคับ ชอบ
dc.description.abstractThe research deals with the stratcgies of crcating Thai fim titles from English. Thees are 1) to study the use of Thai words in giving film titles 2) to study the sving film titles 3) to study the cultural factors influencing the film titles 4) to study attitudes of the audience towards the film titles. Firstly, it has been found that eight types of Thai usage are used to give the titles. The use of transliteration is most frequently employed, followed by that of connotative words, slang words, loan blends, rhyming, punctuation, the words that mean "very""the most" and onomatopoeia. urther, four strategies have been found in giving film titles which are based on 1) content of the film 2) the main characteristics of the film 3) significant objects and places and 4)occupations of actors. With regard to culture, the findings reveal cultural influence on of the words in the titles. They are divided into 3 groups: pronouns, kinship terms and polite final particles.Finally, the results of the questionnaire show that the respondents have an average satisfaction with the sample of Thai film tittles.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/9158
dc.language.isoth
dc.publisherมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. สำนักหอสมุด
dc.publisher.placeกรุงเทพมหานคร
dc.subject.contentCoverageENG - อังกฤษ
dc.subject.contentCoverageTHA - ไทย
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.titleการศึกษากลวิธีการตั้งชื่อภาพยนตร์ภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทย
dc.title.alternativeStrategies of creating Thai film titles from Englishen
dc.typeวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท (Master Thesis)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID464
harrt.researchAreaภาษาศาสตร์ประยุกต์ (Applied Linguistics)
harrt.researchGroupภาษาศาสตร์
harrt.researchTheme.1อรรถศาสตร์ (Semantics)
mods.location.urlhttps://tdc.thailis.or.th/tdc/browse.php?option=show&browse_type=title&titleid=318662
thesis.degree.departmentคณะมนุุุษยศาสตร์
thesis.degree.grantorมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
thesis.degree.levelปริญญาโท
thesis.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Files