Publication: 《四朝代》与《四世同堂》中人物形象的比较研究
View online Resources
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2012
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
cn
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
文學院學報
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Liberal Arts Review
ศิลปศาสตร์ปริทัศน์
Volume
7
Issue
14
Edition
Start Page
34
End Page
42
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
《四朝代》与《四世同堂》中人物形象的比较研究
Alternative Title(s)
การศึกษาเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครเรื่อง “สี่แผ่นดิน” และ “สี่รุ่นร่วมเรือน”
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
本论文的主要研究目的是对《四朝代》和《四世同堂》中达岸和瑞宣以及帕洛伊和韵梅等人物形象的比较。《四朝代》和《四世同堂》这两部文学作品都受到了中泰两国传统文化以及西方文化的影响,本论文主要采用平行比较的方法对两组人物的生活状况,受教育情况,社会及家庭地位以及思想的异同点进行比较研究。 本论文研究发现,这两组人物身上存在很多的共同点和不同点。达岸出生在贵族家庭,瑞宣出生在平民家庭,他们都接受过西方思想,但方式是不同的,达岸直接去西国外学习,瑞宣则在国内接受西方教育。但不同的是,瑞宣在战争中,产生了奔赴前线抗战的想法,达岸却没有这种想法。帕洛伊和韵梅的相同点是,都是家庭主妇,都出生在封建社会,具有封建社会的传统思想,同时都具有博爱之心,不同点则是,帕洛伊出生在贵族家庭,韵梅出身平民,帕洛伊一生都受传统思想束缚着,韵梅最后则成为了走出家庭的“战士”。两组人物在生活状况,受教育情况,社会及家庭地位以及思想方面既有相同的地方,又有不同之处。反映出了泰中两国人民在思想及生活方式上的相互联系。
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครเรื่องสี่แผ่นดินและสี่รุ่นร่วมเรือน ที่มีตัวละครเอกอยู่สองกลุ่มคือตาอั้นกับรุ่ยเซวียน และพลอยกับอวิ่นเหมย ซึ่งบทประพันธ์ทั้งสองเรื่องต่างได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยและจีน ผสมผสานกับวัฒนธรรมทางตะวันตก โดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบคู่ขนานเป็นหลักในการศึกษา ส่วนเหมือนและส่วนต่างในด้านการดำเนินชีวิต การศึกษา สถานะครอบครัวทางสังคม และแนวความคิดของตัวละครทั้งสองเรื่อง ผลการวิจัยพบว่า ตัวละครในเรื่องทั้งสองมีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกัน ดังเช่น ตาอั้นเกิดมาในครอบครัวชนชั้นสูง ส่วนรุ่ยเซวียนเกิดจากครอบครัวสามัญชน ซึ่งตัวละครทั้งสองต่างได้รับแนวความคิดทางตะวันตกจากรูปแบบที่ต่างกัน โดยตาอั้นได้รับจากการศึกษาที่ต่างประเทศ ส่วนรุ่ยเซวียนได้รับมาจากการศึกษาภายในประเทศ แต่สิ่งที่แตกต่างคือ รุ่ยเซวียนมีความคิดร่วมต่อสู้ในสงคราม แต่ตาอั้นกลับไม่มีความคิดเช่นนี้ ส่วนพลอยและอวิ่นเหมยเป็นตัวละครที่มีภาพลักษณ์ของแม่ศรีเรือน ซึ่งถือกำเนิดขึ้นในสังคมศักดินา มีแนวความคิดแบบดั้งเดิม และมีความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่นเหมือนกัน ในส่วนที่ต่างกันคือ พลอยเกิดจากครอบครัวชนชั้นสูง ยึดติดกับความคิดดั้งเดิมมาโดยตลอด ในขณะที่อวิ่นเหมยเกิดจากครอบครัวสามัญชน แม้จะมีความคิดตามแบบดั้งเดิม แต่ในที่สุดก็เปลี่ยนตัวเองจนกลายมาเป็นนักสู้ในภาวะสงคราม ดังจะเห็นได้ว่า การดำเนินชีวิต การศึกษา สถานะครอบครัวทางสังคม และแนวคิดของตัวละครในเรื่องทั้งสองมีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิดและวิถีชีวิตที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างชาวไทยกับชาวจีนได้เป็นอย่างดี
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบภาพลักษณ์ตัวละครเรื่องสี่แผ่นดินและสี่รุ่นร่วมเรือน ที่มีตัวละครเอกอยู่สองกลุ่มคือตาอั้นกับรุ่ยเซวียน และพลอยกับอวิ่นเหมย ซึ่งบทประพันธ์ทั้งสองเรื่องต่างได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมดั้งเดิมของไทยและจีน ผสมผสานกับวัฒนธรรมทางตะวันตก โดยใช้การวิเคราะห์เปรียบเทียบแบบคู่ขนานเป็นหลักในการศึกษา ส่วนเหมือนและส่วนต่างในด้านการดำเนินชีวิต การศึกษา สถานะครอบครัวทางสังคม และแนวความคิดของตัวละครทั้งสองเรื่อง ผลการวิจัยพบว่า ตัวละครในเรื่องทั้งสองมีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกัน ดังเช่น ตาอั้นเกิดมาในครอบครัวชนชั้นสูง ส่วนรุ่ยเซวียนเกิดจากครอบครัวสามัญชน ซึ่งตัวละครทั้งสองต่างได้รับแนวความคิดทางตะวันตกจากรูปแบบที่ต่างกัน โดยตาอั้นได้รับจากการศึกษาที่ต่างประเทศ ส่วนรุ่ยเซวียนได้รับมาจากการศึกษาภายในประเทศ แต่สิ่งที่แตกต่างคือ รุ่ยเซวียนมีความคิดร่วมต่อสู้ในสงคราม แต่ตาอั้นกลับไม่มีความคิดเช่นนี้ ส่วนพลอยและอวิ่นเหมยเป็นตัวละครที่มีภาพลักษณ์ของแม่ศรีเรือน ซึ่งถือกำเนิดขึ้นในสังคมศักดินา มีแนวความคิดแบบดั้งเดิม และมีความรัก ความปรารถนาดีต่อผู้อื่นเหมือนกัน ในส่วนที่ต่างกันคือ พลอยเกิดจากครอบครัวชนชั้นสูง ยึดติดกับความคิดดั้งเดิมมาโดยตลอด ในขณะที่อวิ่นเหมยเกิดจากครอบครัวสามัญชน แม้จะมีความคิดตามแบบดั้งเดิม แต่ในที่สุดก็เปลี่ยนตัวเองจนกลายมาเป็นนักสู้ในภาวะสงคราม ดังจะเห็นได้ว่า การดำเนินชีวิต การศึกษา สถานะครอบครัวทางสังคม และแนวคิดของตัวละครในเรื่องทั้งสองมีทั้งที่สอดคล้องและแตกต่างกัน ซึ่งสะท้อนถึงแนวคิดและวิถีชีวิตที่สัมพันธ์เชื่อมโยงกันระหว่างชาวไทยกับชาวจีนได้เป็นอย่างดี