Publication: การจัดการเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
รมยสาร
Volume
16
Issue
ฉบับพิเศษ
Edition
Start Page
115
End Page
135
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การจัดการเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ความต้องการรับบริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริม การเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน 2) ความรู้ความเข้าใจถึงบทบาทและหน้าที่ของห้องสมุด แนวความคิด เชิงนโยบาย และปัญหาอุปสรรคในการบริหารและการบริการห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน และ 3) รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธ์ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ซึ่งเป็นการวิจัยแบบผสมผสาน โดยใช้ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพ และการวิจัยเชิงปริมาณ หน่วยการวิจัย คือ ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน ศูนย์กลางนครราชสีมาวิทยาเขตกาฬสินธุ์ ขอนแก่น สกลนคร และสุรินทร์ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างการวิจัยประกอบด้วย ผู้บริหารห้องสมุดมหาวิทยาลัย จำนวน 5 คน บรรณารักษ์ห้องสมุดมหาวิทยาลัย จำนวน 14 คน และอาจารย์ผู้สอน จำนวน 753 คน เครื่องมือในการวิจัยคือ แบบสัมภาษณ์ และแบบสอบถาม เก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสัมภาษณ์และการสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ โดยใช้สถิติค่าร้อยละและการหาค่าดัชนีความสอดคล้องวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis) แล้วนำเสนอในรูปแบบการพรรณนาความ ผลการวิจัย พบว่า 1) ความต้องการรับบริการห้องสมุดเพื่อส่งเสริมการเรียนการสอนที่เน้นกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน อาจารย์มีความต้องการด้านสถานที่ เครื่องมือ อุปกรณ์สำหรับการสืบค้นและแสวงหาความรู้มากสุด ร้อยละ 52.45 2) บทบาทหน้าที่ของห้องสมุดมหาวิทยาลัย ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน บรรณารักษ์เห็นว่าห้องสมุดมหาวิทยาลัยควรจัดสถานที่ เครื่องมือและอุปกรณ์สำหรับ การสืบคัน /แสวงหาความรู้มากสุด ร้อยละ78.60 ส่วนปัญหาอุปสรรคในการให้บริการของห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน คืออาจารย์ไม่มีโอกาสในการวางแผนร่วมกับบรรณารักษ ์ ร้อยละ 20.00 3) รูปแบบการจัดการเชิงกลยุทธ์ ของห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียน ห้องสมุดมหาวิทยาลัยควรกำหนดกลยุทธ์ วิสัยทัศน์ พันธกิจ วัตถุประสงค์ เป้าหมาย และนโยบายของห้องสมุดมหาวิทยาลัยที่ส่งเสริมการเรียนรู้ของผู้เรียนให้ชัดเจนและเป็นรูปธรรมแบบมีส่วนร่วม"