Publication: แนวคิดเรื่อง “ตถาคตครรภ์” ในคัมภีร์รัตนโคตรวิภาค
dc.contributor.author | ละอองดาว นนทะสร | |
dc.contributor.author | Nonthasorn, Laongdao | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T10:11:37Z | |
dc.date.available | 2023-12-15T10:11:37Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลคัมภีร์รัตนโคตรวิภาค มหายาโนตตรตันตรศาสตร์จากต้นฉบับภาษาสันสกฤต เป็นภาษาไทย และเพื่อศึกษาแนวคิดตถาคตครรภ์ที่ปรากฎในคัมภีร์รัตนโคตรวิภาค ผลการศึกษาพบว่า คัมภีร์รัตนโคตรวิภาค เป็นคัมภีร์ที่รวบรวมคำสอนเกี่ยวกับตถาคตครรภ์ เนื้อหาส่วนใหญ่นำมาจากคัมภีร์พระพุทธศาสนามหายาน ประมาณ 20 คัมภีร์ จึงเป็นคัมภีร์ที่มีเนื้อหาอธิบายเฉพาะเรื่องตถาคตครรภ์มากที่สุด ตถาคตครรภ์ หมายถึง ธรรมกายที่ยังมีกิเลสอาสวะห่อหุ้ม ซึ่งมีอยู่ในสรรพสัตว์ และสามารถที่จะบรรลุได้ ด้วยการฝึกฝนอบรมจิตให้บริสุทธิ์เป็นประภัสสร ในคัมภีร์นี้ยังมีการใช้คำอื่นๆ แทนคำว่า ตถาคตครรภ์ อีก เช่น สัตตวธาตุ ธรรมธาตุ โคตร ตถตา เป็นต้น สรรพสัตว์ทั้งปวงมีตถาคตครรภ์ เพราะมีธรรมกายแผ่ซ่านอยู่ในตนเอง มีตถตา (ความเป็นจริง) ที่ไม่เปลี่ยนแปลง และมีโคตรอยู่ภายในตน ซึ่งการรู้แจ้งธรรมกายนั้นมี 3 สถานะ กล่าวคือ 1) สถานะที่ธรรมกายยังมีกิเลสห่อหุ้ม เรียกว่า สัตตวธาตุ 2) สถานะที่แม้จะหลุดพ้นจากกิเลสอาสวะทั้งปวงแต่ยังอยู่ในวัฏฏสังสารเพื่ออาศัยความกรุณาช่วยเหลือสรรพสัตว์ เรียกว่า พระโพธิสัตว์ และ 3) สถานะที่หลุดพ้นจากกิเลสอาสวะพร้อมทั้งวาสนาทั้งปวง เรียกว่า พระตถาคต คุณลักษณะของธรรมกาย คือ เที่ยง เป็นสุข เป็นอาตมะ และบริสุทธิ์ | |
dc.description.abstract | This study aims at translating the Ratanagotravibhãga Mahãyãnottaratantraśãstra from Sanskrit text into Thai and studying the concept of the tathãgatagarbha as revealed in this scripture. The study found that the Ratnagotravibhãga is scripture that collected the Buddhist doctrines regarding tathãgatagarbha. The contents were excerpted from sources approximately twenty Mahayana Buddhist scriptures. It is the Buddhist text mostly described and especially concerned with the tathãgatagarbha. The tathãgatagarbha means the dhammakãya which is encompassed with the defilements. This exists within all living beings, and they will be able to achieve it. They must practice mind to the glittering purity. In this scripture not only the word tathãgatagarbha has been used but there are also other various words which have been used instead such as sattvadhãtu, dharmadhãtu, gotra and tathatã. All living beings have the tathãgatagarbha because within all beings there are the dhammakãya infiltrate in themselves, having the tathatã (the truth) that is unchanging and having the gotra in themselves. The enlightenment of dhammakãya has three conditions namely: 1) A condition that the dhammakãya is encompassed with the defilements, which can be called sattvadhãtu; 2) A partial condition although liberates from all defilements, it still remains in the cycle of existences to help all living beings with compassion, which can be called bodhisattva; 3) A condition liberates from all defilements and all blessedness, which can be called tathãgata. The dhammakãya attributes are exactness, bliss, wholeness (uniformity), and purity. | en |
dc.identifier.issn | 2697-5637 (Online) | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/2422 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | ตถาคตครรภ์ | |
dc.subject | ธรรมกาย | |
dc.subject | รัตนโคตรวิภาค | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | แนวคิดเรื่อง “ตถาคตครรภ์” ในคัมภีร์รัตนโคตรวิภาค | |
dc.title.alternative | The Concept of Tathãgatagarbha in Ratnagotravibhãga | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 363 | |
harrt.researchArea | วรรณกรรม/วรรณคดีบาลีและสันสกฤต | |
harrt.researchGroup | บาลีและสันสกฤต | |
harrt.researchTheme.1 | วิเคราะห์วรรณกรรม/วรรณคดี | |
harrt.researchTheme.2 | วรรณกรรม/วรรณคดีศาสนา | |
mods.location.url | https://so03.tci-thaijo.org/index.php/gshskku/article/view/134942 | |
oaire.citation.endPage | 326 | |
oaire.citation.issue | 2 | |
oaire.citation.startPage | 305 | |
oaire.citation.title | วารสารภาษา ศาสนา และวัฒนธรรม | |
oaire.citation.volume | 7 |