Publication: การพัฒนารูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2018
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2697-4827
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารอินฟอร์เมชั่น
Volume
25
Issue
1
Edition
Start Page
45
End Page
64
Access Rights
Access Status
Rights
Copyright (c) 2018 สำนักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การพัฒนารูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย
Alternative Title(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การพัฒนารูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทยเป็นงานวิจัยเชิงคุณภาพ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาสภาพการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย (2) ศึกษาปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จในการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย (3) ศึกษาปัญหาการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย และ (4) พัฒนารูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย โดยมีขั้นตอนการวิจัย 3 ระยะ ระยะที่ 1 การศึกษาสภาพ ปัญหาและปัจจัยที่เอื้อต่อการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย ผู้วิจัยใช้การสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้างเพื่อเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 28 คน จาก 14 หน่วยงาน ระยะที่ 2 การร่างรูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทยโดยตรวจสอบความถูกต้องของร่างรูปแบบจากผู้ทรงคุณวุฒิ และระยะที่ 3 การพัฒนารูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทยพร้อมกับประเมินความเหมาะสมจากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียและนำรูปแบบไปทดลองใช้ ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทยเป็นการจัดการกระจายในแต่ละภูมิภาคในลักษณะโครงการ มีนโยบายจัดตั้งเป็นสถาบัน ศูนย์หรือพิพิธภัณฑ์ที่มีแผนพัฒนาคัมภีร์ใบลานให้อยู่ในรูปดิจิทัล มีกลยุทธ์การสร้างเครือข่ายความร่วมมือ 2) ปัจจัยที่เอื้อต่อความสำเร็จประกอบด้วยการเป็นนโยบายหลักขององค์กร มีโครงสร้างองค์กรที่ชัดเจนและมีบุคลากรรับผิดชอบ ภาวะผู้นำและเครือข่ายความร่วมมือระหว่างบุคคล 3) ปัญหาที่พบ ได้แก่ โครงสร้างองค์กรไม่ชัดเจน ขาดบุคลากรที่รับผิดชอบโดยตรง ความไม่ต่อเนื่องของงบประมาณสนับสนุนและเทคโนโลยีสารสนเทศไม่ทันสมัย 4) รูปแบบการจัดการคัมภีร์ใบลานในประเทศไทย จำแนกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับชาติ ระดับหน่วยงานและระดับท้องถิ่น ประกอบด้วยองค์ประกอบ 7 องค์ประกอบ ได้แก่ นโยบาย ภาวะผู้นำ บุคลากร งบประมาณ เครือข่ายความร่วมมือ เทคโนโลยีสารสนเทศ และกระบวนการจัดการคัมภีร์ใบลาน