Publication:
“เพื่อความก้าวหน้าของประมงไทย...เพื่อชีวิตคือความมีเงิน”: การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีประมงทะเลไทย พ.ศ. 2489 - 2503

dc.contributor.authorNipaporn Ratchatapattanakull
dc.contributor.authorนิภาพร รัชตพัฒนากุลth
dc.contributor.editorจันทิมา อังคพณิชกิจ
dc.contributor.editorJantima Angkapanichkiten
dc.coverage.temporal1946-1960
dc.date.accessioned2023-12-16T09:08:16Z
dc.date.available2023-12-16T09:08:16Z
dc.date.issued2021
dc.date.issuedBE2564
dc.description.abstractบทความนี้ศึกษาการถ่ายทอดเทคโนโลยีประมงทะเลจากต่างประเทศเข้าสู่ประเทศไทยในช่วงกลางศตวรรษที่ 20 งานศึกษาเกี่ยวกับการกลายเป็นอุตสาหกรรมในระยะแรกของไทยถูกอธิบายด้วยกรอบการวิเคราะห์แบบทุนนิยมข้าราชการและเศรษฐกิจแบบชาตินิยม โดยอธิบายว่าภายหลังสงครามโลกครั้ง 2 ถึงทศวรรษ 1960 ช่วงต้น กลุ่มพวกพ้องของข้าราชการทหารและพลเรือนเป็นผู้กระทำการหลักในการพัฒนาเศรษฐกิจภายใต้ความช่วยเหลือทางการเงินจากสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามจากการศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรมประมงทะเลทั้งจากแง่มุมระบบเทคโนโลยีและการถ่ายทอดเทคโนโลยีเผยให้เห็นว่านักอุตสาหกรรมเอกชนเป็นอีกหนึ่งตัวแสดงที่สำคัญในการพัฒนาอุตสาหกรรมประมงทะเลช่วงแรกเริ่ม พวกเขาเป็นผู้บุกเบิกที่กระตือรือร้นในการสร้างระบบเทคโนโลยีของอุตสาหกรรมประมงทะเล บทบาทของพวกเขาในด้านการถ่ายทอดเทคโนโลยีมีผลลัพธ์ที่หลากหลายตั้งแต่ประสบความสำเร็จ ปรับใช้ และล้มเหลว เรื่องราวของนักอุตสาหกรรมเหล่านี้ให้ภาพการมีส่วนร่วมอย่างกระตือรือร้นของภาคเอกชนและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี ซึ่งมีส่วนสำคัญอย่างยิ่งในการทำความเข้าใจช่วงเริ่มต้นของการกลายเป็นอุตสาหกรรมในไทย
dc.description.abstractThis article concerns the transfer of fisheries technologies from foreign countries to Thailand in the mid-20th century. The early industrialization ofThailand has been understoodand framed byconcepts of bureaucratic crony capitalism and economic nationalism.It is commonly understood that, from the end of the Second World War until the beginning of the 1960s, military and civilian bureaucraticcronies were the main agents of economic development under the US-funded and promoted ‘development’. However, a closer examinationof the source materials used in existing studies reveals that private industrialists were the other main agents in early fisheries industrialization,both in the aspect of technological systemsand technology transfer.They were active innovators in the creation of technological systemsfor fisheries. Their roles in technology transfer have varied widely, with outcomesranging fromsuccesses andsignificant adaptation, to failures. These industrialists’stories illustrate the active participationof the private sector intechnological changesin the early industrializationofThailand.en
dc.identifier.doihttps://doi.org/10.14456/lartstu.2021.19
dc.identifier.issn2672-9814
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/7390
dc.language.isoth
dc.publisherคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
dc.subjectไทย
dc.subjectอุตสาหกรรมประมง
dc.subjectระบบเทคโนโลยี
dc.subjectการถ่ายทอดเทคโนโลยี
dc.subjectThailand
dc.subjectFishing Industry
dc.subjectTechnological Systems
dc.subjectTechnology Transfer
dc.subject.isced0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.subject.oecd6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.title“เพื่อความก้าวหน้าของประมงไทย...เพื่อชีวิตคือความมีเงิน”: การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีประมงทะเลไทย พ.ศ. 2489 - 2503
dc.title.alternative"For the Progress of Thai Fishery...for Life which is Money": The Transformation of Thai Fishery Technology 1946 -1960en
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID318
harrt.researchAreaประวัติศาสตร์
harrt.researchGroupประวัติศาสตร์
harrt.researchTheme.1ประวัติศาสตร์ไทย
harrt.researchTheme.2ประวัติศาสตร์เศรษฐกิจ
mods.location.urlhttps://so03.tci-thaijo.org/index.php/liberalarts/article/view/248599/172012
oaire.citation.endPage57
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage30
oaire.citation.titleวารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
oaire.citation.titleJournal of Liberal Arts, Thammasat Universityen
oaire.citation.volume21
Files