Publication: ประตู่สู่อุษาคเนย์ : มุมมองใหม่ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองเพชรบุรี
dc.contributor.author | ชุลีพร วิรุณหะ | |
dc.contributor.author | พวงทิพย์ เกียรติสหกุล | |
dc.contributor.author | วรพร ภู่พงศ์พันธุ์ | |
dc.contributor.author | วรางคณา นิพัทธ์สุขกิจ | |
dc.contributor.author | เพชรดา ชุ่นอ่อน | |
dc.contributor.author | Chuleeporn Virunha | en |
dc.contributor.author | Puengthip Kiattisahakul | en |
dc.contributor.author | Woraporn Poopongpan | en |
dc.contributor.author | Warangkana Nibhatsukit | en |
dc.contributor.author | Petchada Choon-on | en |
dc.contributor.editor | อนันต์ชัย เลาหะพันธุ | |
dc.contributor.editor | Anantjai Lauhabandhu | en |
dc.coverage.temporal | 1759-1839 | |
dc.date.accessioned | 2023-12-16T09:14:47Z | |
dc.date.available | 2023-12-16T09:14:47Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | บทความวิจัยชิ้นนี้มีจุดมุงหมายที่จะชี้ให้เห็นว่าการต่อยอดองค์ความรู้เกี่ยวกับประวัติศาสตร์เพชรบุรีกระทำได้โดยการนำข้อมูลประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์ในแนวทางการศึกษาแบบ 'autonomous history' ได้แก่ การมองเพชรบุรีในฐานะเป็นหน่วยการเมืองอิสระที่สามารถนำมาเป็นจุดศูนย์กลางของการศึกษา (focal/reference point)ได้ด้วยตนเอง ผลการศึกษาชี้ให้เห็นว่าเพชรบุรีในกรอบของ 'autonomous history' มีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ และปริมณฑลของความสัมพันธ์ทางประวัติศาสตร์เป็นของตนเอง มีพลวัตความเปลี่ยนแปลงที่ขับเคลื่อนโดยบทบาทหน้าที่ของเพชรบุรีในแต่ละช่วงเวลา การใช้แนวทางการศึกษาแบบ 'autonomous history' ชี้ให้เห็นความสำคัญของเพชรบุรีในฐานะ 'ประตูสู่อุษาคเนย์' เนื่องจากเมืองเพชรบุรีในอดีตมาจนถึงรัชกาลที่ 3 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ทำหน้าที่เป็นจุดตัดที่เชื่อมต่อบริเวณพื้นทวีปและครบสมุทรมลายูด้านหนึ่ง และเชื่อมเส้นทางเดินเรือจากทะเลจีนใต้กับอ่าวเบงกอลอีกด้านหนึ่ง ความสำคัญของต้นทุนทางพื้นที่ ทำเลที่ตั้ง และผลผลิตทำให้เพชรบุรีมีบทบาทสำคัญทั้งทางด้านการเมือง การทหาร การค้า และการรับ-ถ่ายทอดวัฒนธรรม และที่สำคัญคือเป็นที่ลงรากปักหลักตั้งหลักแหล่งของผู้คนหลากชาติพันธุ์ หลายศาสนา ซึ่งอธิบายความเป็นพหุชุมชนของเพชรบุรีในปัจจุบันได้เป็นอย่างดี | |
dc.description.abstract | This research article aims to present an argument that for the construction of a new body of knowledge on Petchaburi history, the best approach is to study within the context of 'autonomous history'. This approach looks at Petchaburi as an independent political entity that can be used as a focal or a reference point of the study on its own. The research findings suggest that Petchaburi within the context of autonomous history had its own historical development, its own Mandala or circle of historical relationships, and its own dynamic resulting from changing roles within each period of time. The autonomous history approach confirms the significant role of Petchaburi as the 'Gateway to Southeast Asia' since from its beginning up until the reign of King Rama III of Ratanakosin era, Petchaburi functioned as a nodal point connecting mainland Southeast Asia with the Malay Peninsula on the one hand and connecting traffic from the South China Sea with the Bay of Bengal on the other. The importance of Petchaburi's geography, logistics and economic assets shaped her various roles : political, military, trade and cultural transmission. Most importantly, Petchaburi became a place of settlement for many migratory groups of people from various ethnic and religious backgrounds. This aspect of her history best explains the plurality of present-day communities within Petchaburi Province. | en |
dc.identifier.issn | 2672-9709 | |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/7817 | |
dc.language.iso | th | |
dc.publisher | คณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์ | |
dc.subject | ประวัติศาสตร์เพชรบุรี | |
dc.subject | แนวทางการศึกษาแบบ Autonomous History | |
dc.subject | บทบาทด้านการทหารและการค้าของเพชรบุรีในอดีต | |
dc.subject | พหุชุมชนในเพชรบุรี | |
dc.subject | History Of Petchaburi | |
dc.subject | The 'Autonomous History' Approach | |
dc.subject | Petchaburi'S Military And Trading Roles In The Past | |
dc.subject | Plural Community In Petchaburi | |
dc.subject.isced | 0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.subject.oecd | 6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี | |
dc.title | ประตู่สู่อุษาคเนย์ : มุมมองใหม่ต่อการศึกษาประวัติศาสตร์เมืองเพชรบุรี | |
dc.title.alternative | Gateway to Southeast Asia: New Perspective on the Study of Maung Petchaburi's History | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 538 | |
harrt.researchArea | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchGroup | ประวัติศาสตร์ | |
harrt.researchTheme.1 | ประวัติศาสตร์ไทย | |
harrt.researchTheme.2 | ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น | |
mods.location.url | https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/186151/130794 | |
oaire.citation.endPage | 50 | |
oaire.citation.issue | 1 | |
oaire.citation.startPage | 11 | |
oaire.citation.title | วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร | |
oaire.citation.title | Journal of the Faculty of Arts, Silpakorn University | en |
oaire.citation.volume | 40 |