Publication: Prejudicial Assessment? The Inherent Flaws of Reading Comprehension Test for EFL Students
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2013
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
2651-1347 (Print), 2672-989X (Online)
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Studies in the English Language
Volume
8
Issue
Edition
Start Page
32
End Page
74
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Prejudicial Assessment? The Inherent Flaws of Reading Comprehension Test for EFL Students
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
This paper presents and discusses an analysis of the validity of using L2 to test learners’ L2 reading comprehension, a case study of a multiple choice test type. Participants were 242 Thai university students who took a foundation English course at a university in Thailand. They were asked to complete two sets of English reading comprehension tests in which both shared an identical reading passage. However, the two sets differed in that the questions and their coinciding choices came in an English version and a Thai version. Results showed that participants received significantly higher scores in the Thai version than in the English version. More specifically, students with low English proficiency benefitted more by taking the test in Thai (L1) while students with higher English proficiency did not receive any benefit. Furthermore, using L1 helped students when the question was detailed with multiple choice options containing long phrases, clauses or sentences. However, this was not the case in an inference question, or a detailed question with only one-word multiple choice options. Thus, this paper argues in favor of using L1 in multiple choice questions and their multiple choice options to assess learners’ L2 reading comprehension as opposed to the presently existent practice of using the L2, which by itself frequently poses understanding difficulties for low proficiency students.
บทความนี้อภิปรายการวิเคราะห์ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบเมื่อใช้ภาษาที่สองในการทดสอบการอ่านภาษาที่สองเพื่อความเข้าใจของผู้เรียนกรณีศึกษาแบบทดสอบแบบปรนัยที่มีตัวเลือกผู้เข้าร่วมในการวิจัยเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยจํานวน242คนท ี่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศไทยนักศึกษากลุ่มนี้ได้ทําแบบทดสอบการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสองชุดเน ื้อเรื่องที่อ่านในแบบทดสอบทั้งสองชุดเหม ือนกันทุกประการเว ้นแต่ส่วนของค ําถามและต ัวเลือกเป ็นภาษาอังกฤษในแบบทดสอบชุดหนึ่ง (ชุดภาษาอังกฤษ) และเป็นภาษาไทยในอีกชุดหนึ่ง (ชุดภาษาไทย) ผลปรากฏว่าผู้เข้าร่วมในการว ิจัยสอบได้คะแนนสูงข ึ้นอย่างมีนัยสําค ัญในชุดภาษาไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งผ ู้เรียนท ี่มีความรู้ภาษาอังกฤษในระดับตํ่าได้รับประโยชน์มากกว่าผู ้เรียนท ี่มีความรู้ภาษาอ ังกฤษในระด ับที่สูงกว่าเมื่อทําแบบทดสอบชุดภาษาไทยแต่อย่างไรก็ตามการใช้ภาษาที่หนึ่งช่วยผ ู้เรียนได้เมื่อคําถามเป็นคําถามเกี่ยวกับรายละเอียดเฉพาะที่มีตัวเลือกเป็นกล ุ่มคําอนุประโยคหรือประโยคที่ยาวแต่ไม่ช่วยเมื่อเป็นคําถามประเภทที่ต้องอนุมานหรือคําถามเกี่ยวกับรายละเอียดที่มีตัวเล ือกเป็นคําๆเดียวบทความนี้แสดงให ้เห็นว่าควรใช้ภาษาที่หนึ่งในส่วนของค ําถามและต ัวเลือกในการทดสอบการอ่านภาษาท ี่สองเพื่อความเข ้าใจแทนการใช้ภาษาท ี่สองซึ่งมักจะเป็นอุปสรรคต่อความเข้าใจสําหรับผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาในระดับตํ่า
บทความนี้อภิปรายการวิเคราะห์ความเที่ยงตรงของแบบทดสอบเมื่อใช้ภาษาที่สองในการทดสอบการอ่านภาษาที่สองเพื่อความเข้าใจของผู้เรียนกรณีศึกษาแบบทดสอบแบบปรนัยที่มีตัวเลือกผู้เข้าร่วมในการวิจัยเป็นนักศึกษามหาวิทยาลัยจํานวน242คนท ี่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐานในมหาวิทยาลัยแห่งหนึ่งในประเทศไทยนักศึกษากลุ่มนี้ได้ทําแบบทดสอบการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจสองชุดเน ื้อเรื่องที่อ่านในแบบทดสอบทั้งสองชุดเหม ือนกันทุกประการเว ้นแต่ส่วนของค ําถามและต ัวเลือกเป ็นภาษาอังกฤษในแบบทดสอบชุดหนึ่ง (ชุดภาษาอังกฤษ) และเป็นภาษาไทยในอีกชุดหนึ่ง (ชุดภาษาไทย) ผลปรากฏว่าผู้เข้าร่วมในการว ิจัยสอบได้คะแนนสูงข ึ้นอย่างมีนัยสําค ัญในชุดภาษาไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งผ ู้เรียนท ี่มีความรู้ภาษาอังกฤษในระดับตํ่าได้รับประโยชน์มากกว่าผู ้เรียนท ี่มีความรู้ภาษาอ ังกฤษในระด ับที่สูงกว่าเมื่อทําแบบทดสอบชุดภาษาไทยแต่อย่างไรก็ตามการใช้ภาษาที่หนึ่งช่วยผ ู้เรียนได้เมื่อคําถามเป็นคําถามเกี่ยวกับรายละเอียดเฉพาะที่มีตัวเลือกเป็นกล ุ่มคําอนุประโยคหรือประโยคที่ยาวแต่ไม่ช่วยเมื่อเป็นคําถามประเภทที่ต้องอนุมานหรือคําถามเกี่ยวกับรายละเอียดที่มีตัวเล ือกเป็นคําๆเดียวบทความนี้แสดงให ้เห็นว่าควรใช้ภาษาที่หนึ่งในส่วนของค ําถามและต ัวเลือกในการทดสอบการอ่านภาษาท ี่สองเพื่อความเข ้าใจแทนการใช้ภาษาท ี่สองซึ่งมักจะเป็นอุปสรรคต่อความเข้าใจสําหรับผู้เรียนที่มีความสามารถทางภาษาในระดับตํ่า