Publication:
《金锁记》与《画中情思》的创作比较

dc.contributor.authorศนิชา ทัศนสว่างคุณ
dc.contributor.author郑, 睿cn
dc.coverage.temporal1937-1943
dc.date.accessioned2023-12-15T14:31:51Z
dc.date.available2023-12-15T14:31:51Z
dc.date.issued2009
dc.date.issuedBE2552
dc.description.abstract女性形象在不同作家笔下有不同的展示。在众多女性形象中成功地描写悲剧女性形象的作品,往往更能打动读者,更能深入地揭示造成这些悲剧的社会环境,家庭影响,传统道德思想,身份地位以及人物性格等对作品中悲剧女性的多种影响因素。中国现代女性作家张爱玲《金锁记》中的曹七巧与泰国现代文学奠基人西巫拉帕的早期作品《画中情思》中的吉拉蒂,分别在各自的作品中塑造了不同悲剧女性的形象。 本文首次分析这两部小说中的女性形象的共性与特性,从文学作品中把握该两个女性的文学形象,揭示文学作品中该两个女性悲剧形象所反映的思想意识,伦理道德,传统思想和封建礼教对她们人生命运的影响,从而探讨多元文化下泰中文学在塑造悲剧女性形象上的文学特点和描写说法上的不同。
dc.description.abstractนักเขียนแต่ละคนและลักษณะนิสัยของตัวละครได้อย่างลึกซึ้ง ฉาวชีเฉี่ยวตัวละครในเรื่อง “บันทึกตรวนทอง” (จินสั่วจี้) ของจางอ้ายหลิงต่างมีแนวความคิดเกี่ยวกับภาพลักษณ์ของสตรีที่แตกต่างกันไป ผลงานในการพรรณนาภาพลักษณ์แนวโศกนาฏกรรมจำนวนไม่น้อยที่ประสบความสำเร็จนั้นมักจะสร้างความประทับใจให้แก่ผู้อ่านและเปิดโปงสภาพสังคมด้านโศกนาฏกรรม แนวคิดด้านจริยธรรม ฐานะทางสังคมซึ่งเป็นนักเขียนวรรณกรรมจีนสมัยใหม่กับกีรติตัวละครในเรื่อง “ข้างหลังภาพ” ซึ่งเป็นผลงานชิ้นแรก ๆ ของศรีบูรพา ผู้วางรากฐานงานวรรณกรรมสมัยใหม่ของไทย ต่างได้สร้างภาพโศกนาฏกรรมของสตรีในผลงานเขียนไว้แตกต่างกัน บทวิจัยนี้เป็นการวิเคราะห์ความเหมือนและข้อเด่นของภาพลักษณ์สตรีในนวนิยายสองเรื่องดังกล่าว โดยหยิบยกภาพลักษณ์ทางวรรณคดีของสตรีจากผลงาน เผยให้เห็นถึงโศกนาฏกรรมของตัวละครทั้งสองที่สะท้อนแนวคิด จริยธรรม คตินิยม ศีลธรรมจรรยาทางชนชั้น และพร้อมวิเคราะห์ความแตกต่างของลักษณะเด่นทางวรรณกรรม และพรรณนาภาพลักษณ์สตรีที่ประสพโศกนาฏกรรมในวรรณกรรมไทยและวรรณกรรมจีน ภายใต้วัฒนธรรมที่แตกต่างกันth
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/3978
dc.language.isocn
dc.subjectมุมมองการประพันธ์
dc.subjectมุมมองการเล่าเรื่อง
dc.subjectภูมิหลังทางวัฒนธรรมที่ต่างกัน
dc.subjectกลวิธีการประพันธ์
dc.subject创作视角
dc.subject叙事视角
dc.subject不同的文化背景
dc.subject创作手法
dc.subject.isced0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์
dc.subject.oecd6.2 ภาษาและวรรณคดี
dc.title《金锁记》与《画中情思》的创作比较
dc.title.alternativeการเปรียบเทียบการประพันธ์นวนิยายเรื่องจินสั่วจี้ (บันทึกตรวนทอง) กับเรื่องข้างหลังภาพth
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID892
harrt.researchAreaวรรณกรรมจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1วรรณกรรม/วรรณคดีเปรียบเทียบ
harrt.researchTheme.2วรรณกรรมจีนสมัยใหม่
oaire.citation.endPage75
oaire.citation.issue8
oaire.citation.startPage65
oaire.citation.title文學院學報
oaire.citation.titleLiberal Arts Reviewen
oaire.citation.titleศิลปศาสตร์ปริทัศน์th
oaire.citation.volume4
Files