Publication: การศึกษาเชิงเปรียบเทียบรูปแบบทางไวยากรณ์ระหว่างส่วนเติมเต็มบอกผลของภาษาจีนกับรูปแบบในภาษาไทย
dc.contributor.author | วันกวี สิงห์ธนะ | |
dc.contributor.author | Singthana, Wankawee | en |
dc.date.accessioned | 2023-12-15T14:28:32Z | |
dc.date.available | 2023-12-15T14:28:32Z | |
dc.date.issued | 2018 | |
dc.date.issuedBE | 2561 | |
dc.description.abstract | ส่วนเติมเต็มบอกผลเป็นหน่วยทางไวยากรณ์ในภาษาจีนที่มีรูปแบบเฉพาะตัว และมีผู้วิจัยจำนวนไม่น้อยให้ความสนใจในการศึกษาเกี่ยวกับหน่วยทางไวยากรณ์ดังกล่าว ภาษาไทยมีรูปแบบในการเทียบเคียงส่วนเติมเต็มบอกผลของภาษาจีนและสามารถอธิบายได้ค่อนข้างตรงกับความหมายของภาษาจีน อย่างไรก็ตามรูปแบบทางไวยากรณ์ของไทยและจีนก็ยังคงมีความแตกต่างกันพอสมควร ดังนั้นจึงทำให้เกิดปัญหาต่อผู้เรียนชาวไทยในการทำความเข้าใจรูปแบบและโครงสร้างของหน่วยทางไวยากรณ์ดังกล่าว และจากปัญหาที่ได้กล่าวมาข้างต้น ผู้วิจัยจึงได้ทำการเปรียบเทียบรูปแบบทางไวยากรณ์ของส่วนเติมเต็มบอกผลในภาษาจีนและรูปแบบในภาษาไทย เพื่อหาความเหมือนและความแตกต่างของทั้งสองภาษา เพื่อให้เป็นแนวทางและเป็นประโยชน์ต่อการเรียนการสอนภาษาจีนในปัจจุบันต่อไป | |
dc.description.abstract | Chinese resultant complement was a grammatical point which was quite complicated. Nowadays many researchers save an importance to Chinese resultant complement topic. Nevertheless, according to Thai grammar, it did not have any components which were called "resultant complement", but there was only a translation form of "resultant complement" in Thai. Furthermore, it could be mostly translated in direct meanings. Thai and Chinese grammar were different in many aspects; hence, it caused big problems for Thai learners. In other words, Chinese grammatical point was difficult for Thai learners. As for the problem, the writer compared translation form of resultant complement of Thai language in detail by focusing grammar as well as finding the similarities and differences of both Thai and Chinese languages, in order to be benefit for learning and teaching Chinese language in Thailand at the present time. | en |
dc.identifier.uri | https://harrt.in.th/handle/123456789/3763 | |
dc.language.iso | th | |
dc.subject | ส่วนเติมเต็มบอกผล | |
dc.subject | ไวยากรณ์ | |
dc.subject | เปรียบเทียบ | |
dc.subject | Resultant Complement | |
dc.subject | Grammar | |
dc.subject | Compare | |
dc.subject.isced | 0232 วรรณคดีและภาษาศาสตร์ | |
dc.subject.oecd | 6.2 ภาษาและวรรณคดี | |
dc.title | การศึกษาเชิงเปรียบเทียบรูปแบบทางไวยากรณ์ระหว่างส่วนเติมเต็มบอกผลของภาษาจีนกับรูปแบบในภาษาไทย | |
dc.title.alternative | The Comparative Studies of Resultant Complement between Chinese and Thai by Focusing Grammar | en |
dc.type | บทความวารสาร (Journal Article) | |
dspace.entity.type | Publication | |
harrt.itemID | 49 | |
harrt.researchArea | ภาษาศาสตร์ภาษาจีน | |
harrt.researchGroup | ภาษาจีน | |
harrt.researchTheme.1 | วากยสัมพันธ์ (Syntax) | |
mods.location.url | https://journal.mfu.ac.th/index.php/jsino/issue/view/15 | |
oaire.citation.endPage | 81 | |
oaire.citation.startPage | 67 | |
oaire.citation.title | วารสารจีนวิทยา | |
oaire.citation.title | 汉学研究 | cn |
oaire.citation.title | Journal of Sinology | en |
oaire.citation.volume | 12 |