Publication:
ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้าง

dc.contributor.authorวรพร ภู่พงศ์พันธุ์
dc.contributor.authorWoraporn Poopongpanen
dc.contributor.editorอนันต์ชัย เลาหะพันธุ
dc.contributor.editorAnantjai Lauhabandhuen
dc.coverage.temporal1350-1767
dc.date.accessioned2023-12-16T09:12:05Z
dc.date.available2023-12-16T09:12:05Z
dc.date.issued2019
dc.date.issuedBE2562
dc.description.abstractบทความวิจัยนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้างระหว่างปี พ.ศ. 1893-2310 มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะความสัมพันธ์ทางการเมืองและทางการค้าระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้าง ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้างมีสองด้านคือ ความสัมพันธ์ทางการเมืองปรากฏชัดเจนในสมัยสมเด็จพระมหาจักรพรรดิและสมเด็จพระไชยเชษฐาธิราชเจ้าที่ทั้งสองอาณาจักรทำสัญญาเป็นพันธไมตรีกัน ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสัมพันธ์มาจากความพยายามขยายปริมณฑลอำนาจของพม่าในสมัยพระเจ้าบุเรงนอง หลังจากสมัยนี้ความสัมพันธ์เป็นไปในลักษณะล้านช้างขอความช่วยเหลือจากอยุธยาเนื่องจากเกิดความแตกแยกในหมู่พระราชวงศ์ ความสัมพันธ์ด้านการค้ามีลักษณะการเป็นคู่ค้าโดยอยุธยาเป็นตลาดรับซื้อสินค้าของป่าซึ่งเป็นที่ต้องการของตลาดจีนจากล้านช้างและเป็นแหล่งรวมสินค้าจากดินแดนภายนอกให้พ่อค้าจากล้านช้างซื้อหากลับไปเพื่อกระจายสู่ดินแดนตอนใน
dc.description.abstractThis research aims to study the relationship between Ayutthaya and Lan Xang during 1350-1767 and the background of their relationship. There are two aspects of the relationship between Ayutthaya and Lan Xang : politics and trading. Their political relation was obvious during the reign of King Maha Chakkraphat of Ayutthaya and King Chaiyachetthathirat of Lan Xang. They signed a treaty of alliance in order to confront the growing power of Burma under the lead of King Bayinnaung. The relationship between the two kingdoms after this period was a kind of supporting ally when Lan Xang asked for Ayutthaya’s aid to solve the succession disputes. Since Ayutthaya was an international trading port in Southeast Asia, Ayutthaya played an important role as Lan Xang’s trade post. The particularly for importance was forest products, which were in high demand in China. Moreover, traders from Lan Xang purchased a lot of foreign products from Ayutthaya in order to distribute those products to the inland markets.en
dc.identifier.issn2672-9709
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/7648
dc.language.isoth
dc.publisherคณะอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์
dc.subjectอยุธยา
dc.subjectล้านช้าง
dc.subjectความสัมพันธ์
dc.subject.isced0222 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.subject.oecd6.1 ประวัติศาสตร์และโบราณคดี
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างอาณาจักรอยุธยากับอาณาจักรล้านช้าง
dc.title.alternativeA Relationship between Ayutthaya and Lan Xangen
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID542
harrt.researchAreaประวัติศาสตร์
harrt.researchGroupประวัติศาสตร์
harrt.researchTheme.1ประวัติศาสตร์ไทย
harrt.researchTheme.2ประวัติศาสตร์การเมือง
mods.location.urlhttps://so04.tci-thaijo.org/index.php/jasu/article/view/194694/135750
oaire.citation.endPage167
oaire.citation.issue1
oaire.citation.startPage150
oaire.citation.titleวารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
oaire.citation.titleJournal of the Faculty of Arts, Silpakorn Universityen
oaire.citation.volume41
Files