Publication: โยชนามูลกัจจายนะ ปริเฉทที่ 3-4(การก – สมาส) : การตรวจชำระและศึกษา
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2007
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Volume
Issue
Edition
Start Page
End Page
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
โยชนามูลกัจจายนะ ปริเฉทที่ 3-4(การก – สมาส) : การตรวจชำระและศึกษา
Alternative Title(s)
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
วิทยานิพนธ์เรื่องนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อปริวรรตและตรวจชำระคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะปริเฉทที่ ๓ - ๔ (การก – สมาส) ศึกษาด้านเนื้อหา วิธีเขียนไวยากรณ์ และวิธีจานลงในใบลาน เป็นคัมภีร์อธิบายความหมายของคำและความในคัมภีร์มูลกัจจายนะแต่งขึ้นที่เชียงใหม่ โดยพระญาณกิตติเถระ ประมาณต้นพุทธศตวรรตที่ ๒๑ ในการตรวจชำระได้ใช้ต้นฉบับรดน้ำดำโท ร. ๓ ในหอสมุด แห่งชาติ สมัยกรุงรัตนโกสินทร์ ซึ่งจารได้สมบูรณ์กว่าทุกฉบับมาเป็นต้นฉบับ แล้วนำฉบับอื่นที่หาได้และมีความสมบูรณ์พอที่จะนำมาตรวจชำระ ที่มีอยู่ในหอสมุดแห่งชาติ ๒ ฉบับ คือ ฉบับทองน้อย,และฉบับทองทึบ ฉบับเทพชุมนุมของวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ๑ ฉบับ และฉบับวัดสังข์กระจายวรวิหาร อีก ๑ ฉบับ รวมเป็น ๕ ฉบับในด้านเนื้อหาคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะ (การก และสมาส) แบ่งเนื้อหาออกเป็น ๕ บท บทแรกเป็นบทนำ กล่าวถึงความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา และวิธีดำเนินการวิจัย, บทที่ ๒ ศึกษาโยชนามูลกัจจายนะ คือ ต้นฉบับคัมภีร์ที่ใช้ในการตรวจชำระ วิธีการและหลักเกณฑ์การตรวจชำระ วิวัฒนาการความเป็นมาของการคัดลอกและการจารต้นฉบับ ข้อผิดพลาดที่พบในการจารวิธีการเขียนคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะ ลักษณะภาษา และคุณค่าของคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะ (การก และสมาส), บทที่ ๓ โยชนามูลกัจจายนะที่ตรวจชำระแล้วพร้อมทั้งข้อผิดพลาด, บทที่ ๔ โยชนามูลกัจจายนะแปล, บทที่ ๕ ว่าด้วยบทสรุปและข้อเสนอแนะ ผลของการวิจัยพบว่า คัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะ ปริเฉทที่ ๓ - ๔ (การก และสมาส) มีการจารลงในใบลานอักษรขอม ภาษาบาลี ฉบับสมัยราชกาลที่ ๓ เป็นฉบับที่มีเนื้อหาที่สมบูรณ์ที่สุด และมีการแต่งคัดลอกต่อ ๆ กันมาหลายฉบับ ลักษณะการนำเสนอเนื้อหาในคัมภีร์โยชนามูลกัจจายนะได้วิวัฒนาการมาจากสัททาวิเสสอื่น ๆ คือ คัมภีร์สัททนีติ, คัมภีร์รูปสิทธิ, คัมภีร์ นยาสะ เป็นต้น ด้วยการนำเนื้อหามาจากคัมภีร์ต่าง ๆ มาปรับปรุงและแต่งเสริมเข้าไปในส่วนที่ไม่มีผู้ประพันธ์ไว้ เนื้อหาบางส่วนพระญาณกิตติเถระแต่งขึ้นเอง โดยเน้นการสร้างรูปคำ มีการยกสูตร วุตติ และอุทาหรณ์จากคัมภีร์อื่น ๆ มาประกอบการอธิบายศัพท์เพื่อความสมบูรณ์ของคัมภีร์ที่ท่านแต่ง ศึกษาแล้วทำให้เข้าใจง่าย
Table of contents
Description
Sponsorship
Degree Name
พุทธศาสตรมหาบัณฑิต(บาลี)
Degree Level
ปริญญาโท
Degree Department
คณะพุทธศาสตร์
Degree Discipline
Degree Grantor(s)
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย