Publication: Students’ Satisfaction on the Integration of Chick Lit Novels into Classroom Instruction
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2016
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
en
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
1905-3959
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
Journal of Humanities and Social Sciences, Thaksin University
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
วารสารมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ
Volume
11
Issue
3
Edition
Start Page
54
End Page
71
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
Students’ Satisfaction on the Integration of Chick Lit Novels into Classroom Instruction
Alternative Title(s)
ความพึงพอใจของนิสิตที่มีต่อการบูรณาการนวนิยาย Chick Lit เข้ากับการเรียนการสอนในชั้นเรียน
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
The research was an action research with a purpose to integrate literary analysis of women’s identities and values constructed in modern society in Chick Lit novels to classroom instruction. Literary theories and gender studies were highlighted and students’ analytical skills were enhanced. Chick Lit novels were selected to conduct a textual analysis of the female characters, and feminist approach was utilized as a primary conceptual framework. The participants were 70 third-year English major students of Thaksin University. The research data was collected by students’ satisfaction survey divided into three major satisfaction areas related with literary theory and gender knowledge; analytical skills; and realizing women’s true identities and values. The data were analyzed using percentage, mean and standard deviation.The research finding indicated overview of students’ satisfaction to the integration of literary analysis with classroom instruction had high level (mean = 4.19). Students’ satisfaction gave high levels those entire three major satisfaction areas (means= 4.29, 4.24 and 4.04, respectively).
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์คือเพื่อบูรณาการการศึกษาอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิงที่ประกอบสร้างในสังคมสมัยใหม่ มาใช้ในการวิเคราะห์วรรณกรรมกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยเน้นการใช้ทฤษฎีทางวรรณกรรมและการศึกษาเพศวิถีเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน นวนิยาย Chick Lit ถูกเลือกสรรและวิเคราะห์ตัวละครหญิงโดยใช้ทฤษฎีสตรีนิยมเป็นกรอบการศึกษาและวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่นิสิตชั้นปีสามวิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยทักษิณ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามาจากผลสําารวจความพึงพอใจของนิสิต แบบสําารวจความพึงพอใจแบ่งออกเป็นสามด้าน ได้แก่ ความรู้และทฤษฎีเพศวิถี ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการตระหนักรู้ถึงอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิง ข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการศึกษาวิจัยความพึงพอใจโดยรวมของนิสิตที่มีต่อการบูรณาการการวิเคราะห์วรรณกรรมกับการเรียนการสอนในชั้นเรียนอยู่ในระดับที่สูง (ค่าเฉลี่ย = 4.19) โดยที่ความพึงพอใจในและทฤษฎีเพศวิถี ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการตระหนักรู้ถึงอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิงอยู่ในระดับที่สูง ทั้งสามด้าน (ค่าเฉลี่ย = 4.29, 4.24 และ 4.04 ตามลําาดับ)
งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยเชิงปฏิบัติการที่มีวัตถุประสงค์คือเพื่อบูรณาการการศึกษาอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิงที่ประกอบสร้างในสังคมสมัยใหม่ มาใช้ในการวิเคราะห์วรรณกรรมกับการเรียนการสอนในชั้นเรียน โดยเน้นการใช้ทฤษฎีทางวรรณกรรมและการศึกษาเพศวิถีเพื่อพัฒนาทักษะการคิดวิเคราะห์ของผู้เรียน นวนิยาย Chick Lit ถูกเลือกสรรและวิเคราะห์ตัวละครหญิงโดยใช้ทฤษฎีสตรีนิยมเป็นกรอบการศึกษาและวิเคราะห์ กลุ่มตัวอย่างได้แก่นิสิตชั้นปีสามวิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัยทักษิณ ข้อมูลที่ใช้ในการศึกษามาจากผลสําารวจความพึงพอใจของนิสิต แบบสําารวจความพึงพอใจแบ่งออกเป็นสามด้าน ได้แก่ ความรู้และทฤษฎีเพศวิถี ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการตระหนักรู้ถึงอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิง ข้อมูลถูกวิเคราะห์โดยใช้ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จากผลการศึกษาวิจัยความพึงพอใจโดยรวมของนิสิตที่มีต่อการบูรณาการการวิเคราะห์วรรณกรรมกับการเรียนการสอนในชั้นเรียนอยู่ในระดับที่สูง (ค่าเฉลี่ย = 4.19) โดยที่ความพึงพอใจในและทฤษฎีเพศวิถี ทักษะการคิดวิเคราะห์ และการตระหนักรู้ถึงอัตลักษณ์และคุณค่าของผู้หญิงอยู่ในระดับที่สูง ทั้งสามด้าน (ค่าเฉลี่ย = 4.29, 4.24 และ 4.04 ตามลําาดับ)