Publication: การขยายความหมายของคำว่า骨ในคังโยขุภาษาญี่ปุ่น: การศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ปริชาน
Submitted Date
Received Date
Accepted Date
Issued Date
2019
Copyright Date
Announcement No.
Application No.
Patent No.
Valid Date
Resource Type
Edition
Resource Version
Language
th
File Type
No. of Pages/File Size
ISBN
ISSN
eISSN
DOI
Scopus ID
WOS ID
Pubmed ID
arXiv ID
item.page.harrt.identifier.callno
Other identifier(s)
Journal Title
วารสารญี่ปุ่นศึกษา
Japanese Journal Studies
Japanese Journal Studies
Volume
36
Issue
1
Edition
Start Page
89
End Page
101
Access Rights
Access Status
Rights
Rights Holder(s)
Physical Location
Bibliographic Citation
Research Projects
Organizational Units
Authors
Journal Issue
Title
การขยายความหมายของคำว่า骨ในคังโยขุภาษาญี่ปุ่น: การศึกษาตามแนวอรรถศาสตร์ปริชาน
Alternative Title(s)
Semantic Extension of HONE in Jananese Kanyouku: A Study from Cognitive Semantics Perspective
Author(s)
Author’s Affiliation
Author's E-mail
Editor(s)
Editor’s Affiliation
Corresponding person(s)
Creator(s)
Compiler
Advisor(s)
Illustrator(s)
Applicant(s)
Inventor(s)
Issuer
Assignee
Other Contributor(s)
Series
Has Part
Abstract
การศึกษาครั้งนี้มุ่งศึกษาการขยายความหมายของคำว่า骨 “กระดูก” ที่ปรากฏในคังโยขุภาษาญี่ปุ่นตามแนวอรรถศาสตร์ปริชาน (cognitive semantics) จากการรวบรวมข้อมูล พบคังโยขุที่ใช้คำว่า骨ทั้งสิ้น 14 สำนวน ผลการศึกษาพบว่า骨 แสดงความหมายทั้งสิ้น 10 ความหมาย แบ่งได้เป็น 3 กลุ่ม คือ (1) ความหมายต้นแบบ 1 ความหมาย คือ “กระดูก” (2) ความหมายขยายที่เกิดจากอุปลักษณ์ 3 ความหมาย คือ “ระดับมาก” “แก่น หลัก” “ความมุ่งมั่น ความคิดยืนกราน” (3) ความหมายขยายที่เกิดจากนามนัย 6 ความหมาย คือ “คน ร่างที่มีชีวิต (ทั้งกายและใจ)” “ศพ” “อัฐิ” “เรื่องที่รอการสะสาง” “ความผอม” “ความขาดแคลน” จากการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ทางความหมายพบว่า ความหมายขยายที่เกิดจากอุปลักษณ์ทั้ง 3 ความหมายมีความสัมพันธ์โดยตรงกับความหมายต้นแบบของ骨ส่วนความหมายขยายที่เกิดจากนามนัยมีเพียงความหมาย “คน ร่างที่มีชีวิต (ทั้งกายและใจ)” เท่านั้นที่มีความสัมพันธ์โดยตรงกับความหมายต้นแบบของ骨 ส่วนความหมายอื่น ๆ เกิดการขยายความหมายจาก “คน ร่างที่มีชีวิต (ทั้งกายและใจ)” อีกที ผลจากการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าอรรถศาสตร์ปริชานสามารถอธิบายการขยายความหมายของ骨ได้อย่างเป็นระบบ อีกทั้งยังสามารถแสดงให้เห็นถึงลำดับขั้นตอนของการขยายความหมายได้อย่างชัดเจน ตลอดจนสามารถอธิบายถึงกระบวนการทางปริชานที่อยู่เบื้องหลังการขยายความหมายได้ สุดท้ายผู้วิจัยยังได้เสนอแนะ แนวทางการประยุกต์ผลการศึกษาครั้งนี้ในการเรียนการสอนคังโยขุอีกด้วย