Publication:
การธำรงอัตลักษณ์และความทรงจำร่วมจากวรรณกรรมจีนสำหรับการแสดงงิ้วแต้จิ๋วในสังคมไทย

dc.contributor.authorอรอนงค์ อินสอาด
dc.contributor.authorInsaard, Onanongen
dc.date.accessioned2023-12-15T14:36:40Z
dc.date.available2023-12-15T14:36:40Z
dc.date.issued2020
dc.date.issuedBE2563
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาวรรณกรรมจีนในการแสดงงิ้วแต้จิ๋วปัจจุบัน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาวรรณกรรมและประเภทของวรรณกรรมจีนที่ใช้แสดงงิ้วแต้จิ๋วในสังคมไทย และวิเคราะห์การธำรงอัตลักษณ์และความทรงจำร่วม โดยใช้วิธีการวิจัยโดยการสัมภาษณ์เชิงลึกจากคณะงิ้วจำนวน 3 คณะ คือ คณะซิงตงเจี่ยสูงเฮีย คณะไว่หย่งฮง และ คณะเล่าซาเจี้ยสุง ผลการศึกษาพบว่า ปัจจุบันทั้ง 3 คณะ มีการนำวรรณกรรมจีนมาใช้เป็นบทละครแสดงงิ้ว แบ่งประเภทของเนื้อเรื่องวรรณกรรมจีนเป็น 2 ประเภท คือ เรื่องจากประวัติศาสตร์และพงศาวดาร และเรื่องจากนิทานพื้นเมืองแต้จิ๋ว การเรื่องจากนิทานพื้นเมืองแต้จิ๋วมาแสดงเป็นจำนวนมากในปัจจุบันเช่นนี้ แสดงให้เห็นถึงการ การพยายามธำรงอัตลักษณ์ของชาวจีนแต้จิ๋วโดยการผลิตซ้ำความทรงจำเกี่ยวกับวรรณกรรมจีนแต้จิ๋ว ซึ่งเป็นสิ่งผู้ชมรับรู้ร่วมกัน ซึ่งมีส่วนทำให้เกิดความรู้สึกว่าตนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน ชาวจีนแต้จิ๋วได้สร้างอดีตของตนผ่านความทรงจำร่วมคือการอนุรักษ์งิ้วแต้จิ๋วให้เป็นศิลปะการแสดงที่เป็นสายใยยึดโยงทุกกิจกรรมของชาวจีนแต้จิ๋ว
dc.description.abstractThis research focuses Teochiu Chinese opera literature today. It is aimed at investigating the literature and type of Chinese literature used to perform Teochiu Chinese opera in Thailand and analyzing the maintenance of the Chinese identity and collective memory. Data are collected from in-depth interviews with three traditional Chinese opera groups, namely Sing Dong Zhia Soong Hia, Wai Yong Hong, and Lao Sa Zhia. Results of the study indicate that all of these three Chinese opera groups use Chinese literature in their performance of traditional Chinese opera. The Chinese literature used to perform Chinese opera can be classified by their contents into two categories: historical records and annals; and Teochiu folktales. An adaption of many Teochiu folktales into Chinese opera performances today shows that there is an effort to maintain Teochiu identity by means of reproduction from memory regarding Teochiu literature, which is jointly perceived by the audience and gives them a feeling of unity. Teochiu people have produced their past through their collective memory, which is preservation of Teochiu Chinese opera as a performance art that connects all activities of Teochiu people.en
dc.identifier.urihttps://harrt.in.th/handle/123456789/4273
dc.language.isoth
dc.subjectการธำรงอัตลักษณ์
dc.subjectความทรงจำร่วม
dc.subjectวรรณกรรมจีน
dc.subjectงิ้วแต้จิ๋ว
dc.subjectThe Maintenance Of The Chinese Identity
dc.subjectThe Collective Memory
dc.subjectChinese Literature
dc.subjectTeochiu Chinese Opera
dc.subject.isced0314 สังคมวิทยาและวัฒนธรรมศึกษา
dc.subject.oecd6.4 ศิลปะ
dc.titleการธำรงอัตลักษณ์และความทรงจำร่วมจากวรรณกรรมจีนสำหรับการแสดงงิ้วแต้จิ๋วในสังคมไทย
dc.title.alternativeThe maintenance of the Chinese Identity and collective memory from Teochiu Chinese opera literaturein Thailanden
dc.typeบทความวารสาร (Journal Article)
dspace.entity.typePublication
harrt.itemID771
harrt.researchAreaวัฒนธรรมจีน
harrt.researchGroupภาษาจีน
harrt.researchTheme.1การสืบทอด เผยแพร่และการประยุกต์ใช้
harrt.researchTheme.2ศิลปะการละคร
mods.location.urlhttps://so01.tci-thaijo.org/index.php/HUSO/article/view/206887
oaire.citation.endPage278
oaire.citation.issue2
oaire.citation.startPage258
oaire.citation.titleมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์
oaire.citation.titleHumanities and Social Sciencesen
oaire.citation.volume37
Files